Journal of Nursing Research, Innovation, and Health
Publication Date
2019-09-01
Abstract
Purpose: 1) To study the self-care behaviors post-bariatric surgery among morbid obese patients who received the self-care enhancement program. 2) To compared the self-care behaviors post-bariatric surgery among the control group and the experimental group.Design: Quasi-experimental research.Methods: The 30 patients were male and female with morbid obese patients, aged between 18-59 years old, receiving post-bariatric surgery at King Chulalongkorn Memorial Hospital. They were hospitalized and assigned to the control and the experimental group (15 persons in each group), and matched pair by gender, age and type of operation. The experimental group received the self-care enhancement program based on Orem's self-care, consisted of 2 phases;1st) Educative-Supportive program in the hospital and 2nd) Supportive program with telephone called post discharge, while the control group received conventional care. The data were collected at 8th w e e k s b y u s i n g 1) The demographic data form, and 2) Self-care behaviors post-bariatric surgery questionnaire. The instruments were tested for content validity and cronbach's alpha coefficient was .81. Descriptive statistics and Independent t-test were used for the data analysis.Results: 1) The self-care behaviors post-bariatric surgery among morbid obese patients who received the self-care enhancement program had a good level (Mean = 4.13). 2) The self-care behaviors post-bariatric surgery among the experimental group receiving the self-care enhancement program (Mean = 4.13 ± SD. = 0.25) were significantly better than the control group receiving the conventional care (Mean = 3.68 ± SD. = 0.31) (p<.05). Conclusion: This program can be used to enhance self-care behaviors among morbid obese patients on post-bariatric surgery.(วัตถุประสงค์: 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองภายหลังการผ่าตัดลดน้ำหนักของผู้ป่วยโรคอ้วน ภายหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเอง และ 2) เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลตนเอง ภายหลังการผ่าตัดลดน้ำหนักของผู้ป่วยโรคอ้วน ระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเอง กับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติแบบแผนงานวิจัย: การวิจัยแบบกึ่งทดลองวิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคอ้วนทั้งเพศชายและหญิง อายุ 18-59 ปี ภายหลังได้รับ การผ่าตัดลดน้ำหนักที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จำนวน 30 คน แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 15 คน จับคู่ด้วยเพศ อายุ และชนิดการผ่าตัด กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเอง ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตามกรอบแนวคิดทฤษฎีการดูแลตนเองของ Orem ร่วมกับแนวทางการบำบัดรักษาผู้ป่วยโรคอ้วนภายหลังการผ่าตัดลดน้ำหนัก ประกอบด้วย 2 ระยะ คือ 1) ระยะการให้ความรู้และการสนับสนุนภายหลังการผ่าตัดขณะอยู่โรงพยาบาล และ 2) ระยะการให้ การสนับสนุนเมื่อกลับบ้าน เก็บรวบรวมข้อมูล 8 สัปดาห์ ด้วยแบบวัดพฤติกรรมการดูแลตนเองภายหลังการผ่าตัดลดน้ำหนัก มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าครอนบาคเท่ากับ .81 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติทดสอบที ผลการวิจัย: 1) ผู้ป่วยโรคอ้วนภายหลังได้รับการผ่าตัดลดน้ำหนักกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแล ตนเอง มีพฤติกรรมการดูแลตนเองอยู่ในระดับดี (Mean = 4.13± SD. = 0.25) และ 2) ผู้ป่วยโรคอ้วน ภายหลังได้รับการผ่าตัดลดน้ำหนัก กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองมีพฤติกรรมการดูแลตนเอง (Mean = 4.13 ± SD. = 0.25) ดีกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ (Mean = 3.68 ± SD. = 0.31) อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05สรุป: โปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองนี้ ควรนำไปประยุกต์ใช้เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลตนเองภายหลังการผ่าตัดลดน้ำนักให้กับผู้ป่วยโรคอ้วน)
DOI
10.58837/CHULA.CUNS.31.3.4
First Page
33
Last Page
46
Recommended Citation
Lavasut, Sipaphan and Navicharern, Rungrawee
(2019)
"The Effect of Self-Care Enhancement Program on Post-Bariatric Surgery Self-Care Behaviors among Morbid Obese Patients(ผลของโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองภายหลังการผ่าตัดลดน้ำหนักของผู้ป่วยโรคอ้วน),"
Journal of Nursing Research, Innovation, and Health: Vol. 31:
Iss.
3, Article 4.
DOI: 10.58837/CHULA.CUNS.31.3.4
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/cuns/vol31/iss3/4