Journal of Nursing Research, Innovation, and Health
Publication Date
2019-09-01
Abstract
Purpose: To explore health management of diabetes risk group Design: Qualitative researchMethods: The research participants comprised of 75 people, including people, who were diabetes risk group and their families, sub-district health promoting hospital staff, community leaders, village health volunteers, monks, teachers and food vendors in Ban Muang Whan community. The research instruments included 1) the in depth-interviewed guideline, 2) the group discussion guideline, 3) the brain storm guideline, 4) the observation guideline, and 5) the field note. Data were analyzed using content analysis method. Findings: People, who were diabetes risk group, provided self-care including controlled diet, controlled body weight, exercise, stress management, decreased alcohol consumption, reduced smoking, and annual diabetes screening. Family members supported the participants who were diabetes risk group by reducing burden, joining exercise, encouraging and reminding them to change unhealthy behaviors. Other community members provided suggestions and information on health care. Nevertheless, there were some problems and barriers, including inaccessible diabetes screening services, lack of facility, no leaders, lack of motivation, and interrupted exercise.Conclusion: Diabetes risk groups and their families were responsible for their health management. Sub-district health promoting hospital staffs provided health check-up services. Community leaders recognized the problems, provided support to solve the problems, and were role models for healthcare. Village health volunteers provided monitoring and information on health care for participants who are at risk.(วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาการจัดการสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานในชุมชนแบบแผนการวิจัย: การวิจัยเชิงคุณภาพ วิธีดำเนินการวิจัย: ผู้ให้ข้อมูลจำนวน 75 คน ประกอบด้วย ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานและครอบครัว เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล นำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) พระสงฆ์ ครู และแม่ค้าขายอาหารที่ชุมชนบ้านม่วงหวาน เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสัมภาษณ์เชิงลึก 2) แนวทางการสนทนากลุ่ม 3) แนวทางการประชุมระดมสมอง 4) แนวทาง การสังเกต และ 5) แบบบันทึกภาคสนาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย: กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานได้ดูแลสุขภาพตนเองโดยการควบคุมอาหารและน้ำหนักตัว ออกกำลังกาย จัดการความเครียด ลดการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ลดการสูบบุหรี่และไปรับการตรวจคัดกรองโรค เบาหวานประจำปี ครอบครัวกลุ่มเสี่ยงได้แบ่งเบาภาระงาน ร่วมออกกำลังกาย กระตุ้นและกล่าวเตือน เมื่อกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม ชุมชนได้สนับสนุนการดูแลสุขภาพโดยให้ข้อเสนอแนะและข้อมูล ด้านการดูแลสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่พบคือการให้บริการตรวจคัดกรองเบาหวานไม่ทั่วถึง ขาด สถานที่ ผู้นำ แรงจูงใจและความต่อเนื่องในการออกกำลังกาย สรุป: การจัดการสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานในชุมชนเป็นความรับผิดชอบของกลุ่มเสี่ยงและครอบครัว เจ้าหน้าที่ รพสต. ให้บริการตรวจสุขภาพ ผู้นำชุมชนร่วมรับรู้ปัญหา สนับสนุนการแก้ปัญหาและเป็นแบบอย่างการดูแลสุขภาพ อสม. เฝ้าระวังและให้ข้อมูลการดูแลสุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยง)
DOI
10.58837/CHULA.CUNS.31.3.3
First Page
19
Last Page
32
Recommended Citation
Sukwatjanee, Arissara and Amatayakul, Anchaleeporn
(2019)
"Health Management of Diabetes Risk Group in Ban Muang Whan : A Qualitative Research Perspective(การจัดการสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานในชุมชนบ้านม่วงหวาน : มุมมองจากการศึกษาเชิงคุณภาพ),"
Journal of Nursing Research, Innovation, and Health: Vol. 31:
Iss.
3, Article 3.
DOI: 10.58837/CHULA.CUNS.31.3.3
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/cuns/vol31/iss3/3