•  
  •  
 

Journal of Nursing Research, Innovation, and Health

Publication Date

2019-01-01

Abstract

Objective: To explore the experiences of self-management in school-age children with asthma.Research design: Descriptive qualitative research.Methods: The informants were 26 school-age children with asthma who came to the Asthma and Allergy Clinic in the Out-Patient Department at Thammasat University Hospital who were selected by purposive sampling. Data was collected by conducting in-depth interviews, transcribed verbatim and analyzed by content analysis.Findings: The informants were composed of nineteen boys and seven girls with asthma with ages ranging from 9-12 years and an average age of 10.5 years, standard deviation was 1.1 years. According to the data analysis, the experiences of the school-age children with self-management of asthma were composed of the following four themes. First, the perception about asthma comprised two aspects, namely, unlike their friends, and unhealthy person. Second, impact of the disease included disturbances of daily life and academic performance. Third, children began to take responsibility for asthma management, including avoiding triggers, taking medications, and monitoring asthma symptoms. The fourth was that feelings about asthma self-management was composed of two perspectives; recognition of the importance in practice, and the difficulties to the implementation of asthma management.Conclusion: The findings of this study provide understanding about experiences with self-care aimed at asthma management in school-age children and can be implemented as guidelines for the formation of programs for promoting self-management in school-age children with asthma.(วัตถุประสงค์: ศึกษาประสบการณ์การจัดการตนเองเกี่ยวกับโรคหืดของเด็กวัยเรียนรูปแบบการวิจัย: วิธีการวิจัยแบบพรรณนาเชิงคุณภาพวิธีดำเนินการวิจัย: ผู้ให้ข้อมูล คือ เด็กวัยเรียนที่ป่วยเป็นโรคหืดและมารักษาในคลินิกโรคหืดและภูมิแพ้ หน่วยตรวจผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ จำนวน 26 คน โดยใช้วิธีการคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก นำข้อมูลมาถอดเทปแบบคำต่อคำ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาผลการวิจัย: ผู้ให้ข้อมูลเป็นเด็กป่วยโรคหืด เป็นเด็กชาย 19 ราย เป็นเด็กหญิง 7 ราย อายุระหว่าง 9-12 ปี อายุเฉลี่ย 10.5 ปี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.1 ปี และจากการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ประสบการณ์การจัดการตนเองในโรคหืดของเด็กวัยเรียนประกอบด้วย 4 ประเด็นหลัก คือ ประเด็นที่ 1 การรับรู้เกี่ยวกับโรคหืด มี 2 ลักษณะได้แก่ การไม่เหมือนเพื่อน และเป็นคนอ่อนแอ ประเด็นที่ 2 ผลกระทบจากโรค ประกอบด้วยรบกวนชีวิตประจำวันและผลต่อการเรียน ประเด็นที่ 3 เด็กเริ่มมีความรับผิดชอบในการจัดการโรคหืด ได้แก่ การหลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้น การใช้ยา และการสังเกตอาการโรคหืด และประเด็นที่ 4 ความรู้สึกต่อการจัดการตนเองในโรคหืด มี 2 ลักษณะคือ เห็นความสำคัญของการปฎิบัติ และความยากลำบากในการปฏิบัติเพื่อจัดการโรคหืดสรุป: ผลการศึกษาในงานวิจัยนี้ทำให้เข้าใจประสบการณ์การดูแลตนเองเพื่อจัดการโรคหืดของเด็กวัยเรียน และสามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการสร้างโปรแกรมเพื่อส่งเสริมการจัดการตนเองของเด็กวัยเรียนที่ป่วยเป็นโรคหืด)

DOI

10.58837/CHULA.CUNS.31.1.3

First Page

26

Last Page

36

Included in

Nursing Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.