•  
  •  
 

Journal of Nursing Research, Innovation, and Health

Publication Date

2019-01-01

Abstract

Purpose: To examine the factors predicting academic performance in baccalaureate students Thammasat University.Design: Descriptive predictive researchMethod: Data were collected from 250 baccalaureate students Thammasat University; using a personal data, the Coopersmith Self-esteem Inventory School Form, the Center for Epidemiologic Studies Depression scale (CES-D), and the Resourcefulness Scale (RS). The reliabilities of these questionnaires were 0.71, 0.83 and 0.81 respectively. The data were analyzed using descriptive statistics and multiple regression analysis.Finding: The study found that self-esteem was significantly positively correlated with academic performance. Only self-esteem could accounted for 2.70% of the variance explained in academic performance in baccalaureate students. The findings suggest that enhancement of self-esteem in baccalaureate students may help them improve their academic performance.Conclusion: Mental health and psychiatric nurses or nurses in student health services division should provide a counseling or program to enhance self-esteem in baccalaureate students. This may help them improve their academic performance.(วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายสมรรถนะทางด้านการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รูปแบบการวิจัย: การวิจัยแบบพรรณนาเชิงทำนายวิธีดำเนินการวิจัย: การศึกษานี้ใช้แนวคิดทฤษฎีการตัดสินใจด้วยตนเอง (Self-Determination Theory: STD) ของ Deci และ Ryan กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาที่กำลังศึกษาในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จำนวน 250 คน เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถาม การเห็นคุณค่าในตนเองฉบับนักเรียนของคูเปอร์สมิธ แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น และแบบวัดทักษะการจัดการกับสถานการณ์ และหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามได้เท่ากับ 0.71, 0.83 และ 0.81 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบพหุคูณและการถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นเป็นตอนผลการวิจัย: พบว่า การเห็นคุณค่าในตนเองมีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะทางด้านการเรียน และพบว่าการเห็นคุณค่าในตนเองเป็นตัวแปรเดียวที่สามารถทำนายสมรรถนะทางด้านการเรียนของนักศึกษาได้ร้อยละ 2.70 ผลจากการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าการส่งเสริมให้นักศึกษามีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองจะส่งผลต่อสมรรถนะทางด้านการเรียนที่ดีด้วยสรุป: พยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชและพยาบาลในหน่วยบริการสุขภาพที่ดูแลนักศึกษาที่มีปัญหาด้านการเรียนในมหาวิทยาลัยควรจัดการให้การปรึกษาหรือโปรแกรมที่ส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองเพื่อส่งเสริมสมรรถนะนักศึกษาสู่ความสำเร็จต่อไป)

DOI

10.58837/CHULA.CUNS.31.1.2

First Page

15

Last Page

25

Included in

Nursing Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.