•  
  •  
 

Journal of Nursing Research, Innovation, and Health

Publication Date

2019-01-01

Abstract

Purpose: To study demographic characteristics, smoking behaviors, differentiation between gender and smoking behaviors and quit rate among smokers calling Thailand National Quitline (TNQ)Design: Quasi-experimental studyMethods: The 650 smokers who called TNQ during September 2016 to February 2017 were voluntary assigned into three interventions; 1) text to quit (n=143), 2) telephone counseling (n=121), and 3) text to quit and telephone counseling (n=386), and set quit date within next 30 days. Data collection was done by telephone interviewing. Descriptive analysis for the demographic data indicated that most of subjects were male (85.85%), 25-44 years old (43.38%), smoked 11-20 cigarettes per day (55.69%). Data were analyzed with descriptive statistics, independent t-test and chi-square.Results: The findings of this study emphasize that men and women smokers had a significant difference of average score of being nicotine dependent (t=-2.22, p-value=.027). However, there were no statistically significant differences in continuous abstinence rate at 7 days, 30 days, 3 and 6 months of both sexes.Conclusions: The results revealed that TNQ services were effective for helping smokers to attain quitting smoking and suitable in both male and female. Consequently, there is not necessary for a gender-specific smoking cessation intervention.(วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาลักษณะทั่วไป พฤติกรรมการสูบบุหรี่ ความแตกต่างระหว่างเพศกับพฤติกรรมการสูบบุหรี่และอัตราการเลิกบุหรี่ ของผู้ใช้บริการเลิกบุหรี่จากศูนย์บริการเลิกบุหรี่ทางโทรศัพท์แห่งชาติ ด้วยรูปแบบบริการ 1) ข้อความสั้น 2) รับคำปรึกษาทางโทรศัพท์ และ 3) ข้อความสั้นร่วมกับรับคำปรึกษาทางโทรศัพท์รูปแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลองวิธีดำเนินการวิจัย: ผู้ใช้บริการเลิกบุหรี่ของศูนย์บริการเลิกบุหรี่ทางโทรศัพท์แห่งชาติ ตั้งแต่ 1 กันยายน พ.ศ. 2559 ถึง 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 รวมจำนวน 650 คน เลือกรับบริการเลิกบุหรี่ตามความสมัครใจ ได้แก่ บริการเลิกบุหรี่ด้วยข้อความสั้น จำนวน 143 คน, บริการเลิกบุหรี่ด้วยการรับคำปรึกษาทางโทรศัพท์ จำนวน 121 คน, และบริการเลิกบุหรี่ด้วยข้อความสั้นร่วมกับการรับคำปรึกษาทางโทรศัพท์ จำนวน 386 คน มีกำหนดวันเลิกบุหรี่ภายใน 30 วันข้างหน้า เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย (ร้อยละ 85.85) อายุ 25-44 ปี (ร้อยละ 43.38) ครึ่งหนึ่งของกลุ่มตัวอย่าง (ร้อยละ 55.69) สูบบุหรี่วันละ 11-20 มวน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การทดสอบค่าทีแบบอิสระ และสถิติทดสอบไคสแควร์ผลการวิจัย: ค่าเฉลี่ยคะแนนการติดนิโคตินในกลุ่มตัวอย่างเพศหญิงสูงกว่ากลุ่มตัวอย่างเพศชาย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t=-2.22, p-value=.027) อย่างไรก็ตาม อัตราการเลิกบุหรี่ที่ระยะเวลา 7 วัน 30 วัน 3 เดือน และ 6 เดือน ทั้งเพศชายและเพศหญิงไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติสรุป: ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่าบริการเลิกบุหรี่ของศูนย์บริการเลิกบุหรี่ทางโทรศัพท์แห่งชาติมีประสิทธิผลเหมาะสมทั้งเพศชายและเพศหญิง จึงไม่มีความจำเป็นต้องออกแบบหรือพัฒนาบริการที่เฉพาะเจาะจงกับเพศ)

DOI

10.58837/CHULA.CUNS.31.1.1

First Page

1

Last Page

14

Included in

Nursing Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.