•  
  •  
 

Journal of Nursing Science Chulalongkorn University (วารสารพยาบาลศาสตร์)

Publication Date

2019-05-01

Abstract

Purpose: To examine the effects of a planned behavior program on the eating behavior and physical activity behavior in late primary school-aged children with overweight.Method: Quasi - experimental designDesign: This study employed the theory of Planned Behavior as the framework. Simple random sampling was used in order to select a sample of children aged 10 to 12 years studying in the public school in, Saraburi, Thailand. The sample group was selected in accordance with the criteria and randomly chosen to be in the experimental group and control group. Thirty-five children in the experimental group were assigned to the 6-week behavioral change program and other 35 children in the control group received normal treatment. The duration of the study was 6 weeks for the experimental group. Eating behavior and physical activity questionnaires were used for collecting the data before and after the intervention. Data were analyzed using descriptive statistics and t-test.Results: The mean score for the eating behavior and physical activity of the experimental group after the program was higher than on the pretest, with a statistical significance (p < .01). Further, the mean score for the eating behavior and physical activity behaviors of the experimental group was higher than that of the control group with a statistical significance of p < .01.Conclusion: Nurses can use this program by coordinating with teachers and main caregivers in order to encourage children with obesity to develop appropriate behavior.(วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามแผนต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการทำกิจกรรมทางกายของเด็กวัยเรียนตอนปลายที่มีภาวะน้ำหนักเกิน แบบแผนงานวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลองวิธีดำเนินการวิจัย: การศึกษาครั้งนี้ประยุกต์ใช้ทฤษฏีพฤติกรรมตามแผน กลุ่มตัวอย่างคือ เด็กวัยเรียนตอนปลายที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ระดับอ้วน อายุ 10 - 12 ปี ที่กำลังศึกษาในโรงเรียนสังกัดรัฐบาล จังหวัดสระบุรี คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติตามเกณฑ์ และสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามแผนเป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ จำนวน 35 คน และกลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ จำนวน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ โปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามแผนเด็กวัยเรียนตอนปลายที่มีภาวะน้ำหนักเกิน แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และพฤติกรรมการทำกิจกรรมทางกาย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติทดสอบค่าที ผลการวิจัย: หลังการทดลองกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหารและพฤติกรรมการทำกิจกรรมทางกายสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) และกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหารและพฤติกรรมการทำกิจกรรมทางกายสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) ข้อสรุป: พยาบาลสามารถนำโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามแผนไปใช้ โดยประสานงานร่วมกับครูและผู้ดูแลหลัก เพื่อส่งเสริมให้เด็กที่มีภาวะน้ำหนักเกินมีพฤติกรรมที่เหมาะสมต่อไป)

DOI

10.58837/CHULA.CUNS.31.2.8

First Page

85

Last Page

97

Included in

Nursing Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.