•  
  •  
 

Journal of Nursing Science Chulalongkorn University (วารสารพยาบาลศาสตร์)

Publication Date

2019-05-01

Abstract

Purpose: To explore sleep quality and factors predicting sleep quality of secondary school students in Bangkok, Thailand.Design: Descriptive and predictive researchMethods: The samples consisted of 312 Mathayomsuksa 1-6 students who were studying at schools under the supervision of the Secondary Educational Service Area Office, Bangkok. They were selected by multi-stage sampling. The research instruments were the general information questionnaire, the Suanprung Stress Test, the assessment form on adolescents' sleep hygiene practices, the questionnaire on electronic device using behavior, and the Pittsburgh Sleep Quality Index. The data were analyzed by using frequency distribution, percentage, mean, and logistic regression.Findings: 46.20% of secondary school students had poor sleep quality. There were some factors which could predict poor sleep quality of secondary school students with a statistical significance, namely, age 18-19 years (ORadj = 3.16, 95 % CI = 1.50 - 6.69), having allergic rhinitis (ORadj = 1.82, 95 % CI = 1.06 - 3.15), severe stress (ORadj= 6.34, 95 % CI = 1.13 - 35.47), and sleep hygiene practices (ORadj = 0.537, 95 % CI = 0.34 - 0.83).Conclusion: Health team members, schools, and parents should enhance and put emphasis on sleep quality of secondary school students by jointly planning to launch a program for promoting good sleep quality of secondary school students.(วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาคุณภาพการนอนหลับ และปัจจัยทำนายคุณภาพการนอนหลับของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย รูปแบบการวิจัย: การวิจัยแบบพรรณนาเชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ที่กำลังศึกษาในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร จำนวน 312 คน โดยการสุ่มตัวอย่างหลายขั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบวัดความเครียดสวนปรุง แบบประเมินสุขวิทยาการนอนของวัยรุ่น แบบสอบถามพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และแบบประเมินคุณภาพการนอนหลับพิตส์เบิร์ก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และสถิติวิเคราะห์ความถดถอยโลจิสติค ผลการวิจัย: นักเรียนชั้นมัธยมศึกษามีคุณภาพการนอนหลับไม่ดี ร้อยละ 46.20 และปัจจัยที่สามารถทำนายคุณภาพการนอนหลับที่ไม่ดีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ อายุ 18-19 ปี (ORadj = 3.16, 95% CI = 1.50 - 6.69) การเป็นโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ (ORadj = 1.82, 95% CI = 1.06 - 3.15) ความเครียดระดับรุนแรง (ORadj = 6.34, 95% CI = 1.13 - 35.47) และสุขวิทยาการนอน (ORadj = 0.537, 95% CI = 0.34 - 0.83)สรุป: ทีมสุขภาพ โรงเรียน และผู้ปกครองควรส่งเสริมและให้ความสำคัญกับคุณภาพการนอนหลับของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โดยร่วมกันวางแผนจัดทำโปรแกรมที่ส่งเสริมคุณภาพการนอนหลับของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาให้มีคุณภาพการนอนหลับที่ดี)

DOI

10.58837/CHULA.CUNS.31.2.6

First Page

60

Last Page

71

Included in

Nursing Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.