•  
  •  
 

Journal of Nursing Science Chulalongkorn University (วารสารพยาบาลศาสตร์)

Publication Date

2019-05-01

Abstract

Purpose: To study the quality of life in older people with hepatocellular carcinoma undergoing transarterial chemoembolization therapy and to study the relationships between factors; fatigue, pain, insomnia, stress and quality of life in older people with hepatocellular carcinoma undergoing transarterial chemoembolization therapy.Design: Correlation researchMethods: One hundred and twenty inpatient aged over 60 years old of King Chulalongkorn Memorial Hospital and Ramathibodi Hospital who had been diagnosis of hepatocellular carcinoma. The instruments were composed of Demographic information, Piper fatigue scale-12, Numerical rating scales, Insomnia severity index, Percieved stress scale, functional assessment of cancer therapy - hepatobiliary (FACT-Hep). The reliabilities of these questionnaires were .96, .78, .95 and .87 respectively. Data were analyzed by using percentage, mean, standard deviation, Pearson's production-moment correlation.Findings: The mean score of quality of life among older people with hepatocellular carcinoma undergoing transarterial chemoembolization therapy was shown at the high level. (Mean = 122.47, S.D. = 18.76). Fatigue, pain, insomnia and stress were negatively related to quality of life in older people with hepatocellular carcinoma undergoing transarterial chemoembolization therapy at the medium level of .05 (r = - 0.444, - 0.540, - 0.579, - 0.466, respectively)Conclusion: Health care providers should pay special attention to the assessment and management of adverse events of older people with hepatocellular carcinoma undergoing transarterial chemoembolization therapy to reduce the suffering from diseases and adverse reactions and maintain good quality of life.(วัตถุประสงค์:เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโรคมะเร็งตับที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดทางหลอดเลือดแดง และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเหนื่อยล้า ความปวด อาการนอนไม่หลับ ภาวะเครียด และคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโรคมะเร็งตับที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดทางหลอดเลือดแดง รูปแบบการวิจัย: การศึกษาแบบเชิงสหสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งตับทุกระยะและรักษาด้วยเคมีบำบัดทางหลอดเลือดแดง ที่เข้ารับการรักษาแผนกผู้ป่วยใน ตึกศัลยกรรมและอายุรกรรม โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และโรงพยาบาลรามาธิบดี จำนวน 120 คน กลุ่มตัวอย่างได้จากการสุ่มแบบอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการทำวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป แบบประเมินความเหนื่อยล้า แบบประเมินความปวด แบบประเมินการรับรู้ความเครียด แบบประเมินอาการนอนไม่หลับ และแบบประเมินคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งตับ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน หาความเที่ยงจากการคำนวณค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ .96, .78, .95 และ .87 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัย: ผู้สูงอายุโรคมะเร็งตับที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดทางหลอดเลือดแดงมีคุณภาพชีวิตโดยรวมอยู่ในระดับค่อนข้างสูง (Mean = 122.47, S.D. = 18.76) ความเหนื่อยล้า ความปวด อาการนอนไม่หลับ ภาวะเครียด มีความสัมพันธ์ทางลบในระดับปานกลางกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโรคมะเร็งตับที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดทางหลอดเลือดแดงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = - 0.444, - 0.540, - 0.579, - 0.466 ตามลำดับ) สรุป: บุคลากรทางการแพทย์ควรให้ความสำคัญกับการประเมินและการจัดการอาการไม่พึงประสงค์ของผู้สูงอายุที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดทางหลอดเลือดแดง เพื่อลดความทุกข์ทรมานจากโรคและอาการไม่พึงประสงค์ คงไว้ซึ่งคุณภาพชีวิตที่ดี)

DOI

10.58837/CHULA.CUNS.31.2.4

First Page

35

Last Page

47

Included in

Nursing Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.