Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)

อัตราการพัฒนาจากภาวะรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยไปเป็นภาวะสมองเสื่อม: การศึกษาข้อมูลย้อนหลังในสถานบริการระดับตติยภูมิประเทศไทย

Year (A.D.)

2023

Document Type

Thesis

First Advisor

Sookjaroen Tangwongchai

Faculty/College

Faculty of Medicine (คณะแพทยศาสตร์)

Department (if any)

Department of Psychiatry (ภาควิชาจิตเวชศาสตร์)

Degree Name

Master of Science

Degree Level

Master's Degree

Degree Discipline

Mental Health

DOI

10.58837/CHULA.THE.2023.590

Abstract

Background: Dementia is a common neurocognitive disorder associated with aging, causing considerable distress and impairment for both affected individuals and their families. Mild cognitive impairment (MCI) serves as an intermediate stage of cognitive decline between normal aging and dementia, with an increased risk of progressing to dementia. Meterial and methods: A retrospective cohort study was carried out by reviewing the out-patient medical records of the patients visiting King Chulalongkorn Memorial Hospital, a Thai tertiary care hospital, from 2018 to 2019. 200 participants aged 50 years and above with MCI were enrolled and followed for 3 years. Results: Among recruited participants, the three-year conversion rate was 20%. MCI patients who converted to dementia tended to have a shorter duration since symptoms onset (P=0.005), body mass index (BMI) of less than 23 kg/m² (P=0.039), history of delusion (P =0.003) or hallucination (P =0.010) and were more frequently prescribed antidepressants (p=0.011) and cognitive enhancers (P =0.002). They also tend to have higher numbers of follow-up visits (P

Other Abstract (Other language abstract of ETD)

บทนำ: ภาวะสมองเสื่อมเป็นกลุ่มอาการประสาทการรู้คิดที่พบได้มากขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้นซึ่งส่งผลให้เกิดความบกพร่องในหน้าที่และความทุกของผู้ป่วยและครอบครัว ในขณะที่ภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยเป็นกลุ่มอาการของการรู้คิดเสื่อมถอยที่อยู่ระหว่างความเสื่อมตามอายุกับภาวะสมองเสื่อมซึ่งมีโอกาสสูงที่จะถดถอยไปสู่ภาวะสมองเสื่อมในอนาคต จุดประสงค์: งานวิจัยชิ้นนี้มุ่งศึกษาอัตราการถดถอยแปรผันของผู้ป่วยที่มีภาวะการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อยไปเป็นภาวะสมองเสื่อมในช่วง 3 ปี และปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการถดถอยนี้ วิธีการศึกษา: งานวิจัยชิ้นนี้เป็นแบบการศึกษาย้อนหลังโดยการทบทวนเวชระเบียนของผู้ป่วยนอกที่มารับบริการใน โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ระหว่างปี พ.ศ. 2561 ถึง 2562 จำนวน 200 คนที่มีอายุมากกว่า 50 ปี และได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยจากแพทย์ และศึกษาข้อมูลไปข้างหน้าอีกสามปี ผลการศึกษา: จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดมีผู้ป่วยที่อาการถดถอยกลายเป็นภาวะสมองเสื่อม 40 คน ปัจจัยที่เกี่ยวข้องประกอบไปด้วย ระยะเวลาที่เกิดการถดถอยน้อยกว่าห้าปีนับจากอาการนำ (P=0.005) ดัชนีมวยกายที่น้อยกว่า 23 กก./ม.² (P =0.039) ภาวะหลงผิด (P =0.003) และประสาทหลอน (P =0.010) มีการใช้ยารักษาโรคซึมเศร้า (P =0.011) และแพทย์ให้การรักษาด้วยยาเพิ่มการรู้คิด (P =0.002) จำนวนครั้งของการนัดติดตามที่คลินิกมากกว่า (P

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.