Manusya, Journal of Humanities
Publication Date
2020-01-01
Abstract
When translation is considered as an integral part of larger social systems (Even-Zohar 1990), the ways in which translations are produced to serve readers' specificity could be affected. This paper examines whether there is a preference for a specific global trans-lation strategy due to a readership that is specialized in terms of education level. Adopting Venuti's (1995/2008) division of global translation strategies into exoticizing and domesticating translation, it examines the frequency of local translation strate-gies, which are part of a global translation strategy, used in translating English-Thai religious markers in Dan Brown's Angels and Demons, The Da Vinci Code, The Lost Sym-bol, Inferno and Origin. The religious markers cover words/phrases of belief systems in either Eastern or Western culture. The results show that exoticizing translation is a dominant global translation strategy that translation agents, such as translators and editors, use in literary translations of Anglo-American novels.(กลวิธีเด่นของการแปลแบบองค์รวมในนวนิยายแปลของไทย: การแปลตัวบ่งชี้ทางศาสนาในนวนิยายเขย่าขวัญของแดน บราวน์การแปลเป็นส่วนหนึ่งของระบบต่างๆในสังคม (Even-Zohar 1990) ดังนั้นการที่ผู้อ่านมีคุณลักษณะเฉพาะเจาะจงย่อมส่งผลต่องานแปลในงานวิจัยนี้ผู้วิจัยต้องการศึกษากลวิธีที่เป็นที่นิยมของการแปลแบบองค์รวม (global translation strategy) ในการแปลวรรณกรรมที่มุ่งสนองผู้อ่านที่มีการศึกษาการวิจัยได้ใช้แนวคิดการแปลแบบองค์รวมของ Venuti (1995/2008) ที่แบ่งการแปลเป็นสองประเภทคือการแปลโดยคงความเป็นต่างประเทศ (exoticizing translation) และการแปลตามภาษาเป้าหมาย (domesticating translation) เป็นแนวคิดเพื่อนับความถี่ของกลวิธีการแปลในระดับเฉพาะ (local translation strategy) ที่ใช้ในการแปลตัวบ่งชี้ทางศาสนาในภาษาอังกฤษและไทยของนวนิยายเรื่องเทวากับซาตาน (Angels and Demons) รหัสลับดาวินชี (The Da Vinci Code) สาส์นลับที่สาบสูญ (The Lost Symbol) สู่นรกภูมิ (Inferno) และออริจิน(Origin) ของแดนบราวน์ (Dan Brown) ตัวบ่งชี้ทางศาสนาหมายถึงคําาหรือวลีที่เกี่ยวกับศาสนาและ/หรือระบบความเชื่อในวัฒนธรรมตะวันตกและตะวันออกเมื่อพิจารณาเรื่องคุณลักษณะเฉพาะของผู้อ่านชาวไทยแล้วผลวิจัยแสดงให้เห็นว่าบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการแปลไม่ว่าจะเป็นผู้แปลหรือบรรณาธิการต่างนิยมใช้การแปลแบบต่างประเทศเป็นหลักในการแปลวรรณกรรมอังกฤษอเมริกัน)
First Page
286
Last Page
304
Recommended Citation
Inphen, Wiriya
(2020)
"A Dominant Global Translation Strategy in Thai Translated Novels: The Translations of Religious Markers in Dan Brown's Thriller Novels,"
Manusya, Journal of Humanities: Vol. 23:
No.
2, Article 7.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/manusya/vol23/iss2/7