Manusya, Journal of Humanities
Publication Date
2020-01-01
Abstract
Intricate paper cutting of Southern Thailand is a traditional folk art, which is passed down from one generation to another. However, there are no detailed studies or re-cords of the historical backgrounds, beliefs, and cultural animation of Thai-Buddhist culture in Southern Thailand concerning this folk art. This study, therefore, aims to examine this art form in Songkhla and Nakhon Sri Thammarat provinces, which have their own cultural identities. The goal is to register this art form as a part of cultural heritage. The compilation of vital data includes (1) paper characteristics, (2) paper en-graving methods, (3) colours, (4) instruments, (5) pattern designing, (6) purposes of the arts, (7) origins and history, and (8) knowledge of transferring methods. The find-ings reveal the origins of the beliefs and Buddhist faith of the community. The intricate paper cutting techniques are still maintained in the form of decorations found at aus-picious events, festivals, and cultural ceremonies in every region of Thailand. The tech-niques of this art form are in decline but its use still prevails in community life, remain-ing favourites at auspicious festivities and cultural events for the sake of conserving distinct identities.(งานตอกกระดาษปักษ์ใต้: ความเป็นมา ความเชื่อ และการสืบสานวัฒนธรรมไทย-พุทธงานตอกกระดาษปักษ์ใต้เป็นงานช่างฝีมือดั้งเดิม ประเภทศิลปกรรมพื้นบ้านที่สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น อย่างไรก็ตาม เมื่อกล่าวถึงความเป็นมา ความเชื่อ และการสืบสานวัฒนธรรมไทย-พุทธ ในพื้นที่ภาคใต้ ในส่วนที่เกี่ยวกับศิลปกรรมพื้นบ้านชนิดนี้ ปัจจุบันยังไม่มีงานวิจัยใดศึกษาไว้อย่างละเอียด หรือบันทึกไว้สําาหรับเป็นแหล่งค้นคว้าเพื่ออ้างอิง งานวิจัยนี้จึงมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาศิลปะประเภทนี้ ที่จังหวัดสงขลาและจังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งมีความโดดเด่นและมีเอกลักษณ์ในศิลปะตอกกระดาษ ทั้งนี้เป้าหมายของงานวิจัยนี้คือเพื่อให้ศิลปะนี้ได้รับการจดทะเบียนขึ้นเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ในด้านข้อมูล เนื้อหาสําาคัญที่รวบรวม คือ (1) ลักษณะกระดาษ (2) วิธีการตอกกระดาษ (3) สี (4) อุปกรณ์ที่ใช้ (5) การออกแบบลวดลาย (6) วัตถุประสงค์การใช้งาน (7) ประวัติความเป็นมา และ (8) วิธีการถ่ายทอด ข้อค้นพบชี้ให้ทราบถึงที่มาของความเชื่อและการนับถือศาสนาพุทธของชาวชุมชน และมีการนําางานตอกกระดาษมาประดับในงานบุญ งานเทศกาล และงานประเพณีของทุกภูมิภาค แม้จะพบว่าเทคนิคของศิลปะนี้จะเสื่อมถอยลง แต่ก็มีการนําาศิลปะนี้ไปใช้อย่างแพร่หลายในวิถีชีวิตของชุมชน และยังคงมีความนิยมสูงโดยเฉพาะในงานมงคลหรือกิจกรรมทางวัฒนธรรมในฐานะผู้ช่วยอนุรักษ์อัตลักษณ์ที่โดดเด่นของไทย)
First Page
60
Last Page
85
Recommended Citation
Virunanont, Pannee
(2020)
"Traditional Intricate Paper Cutting Techniques of Southern Thailand: Background, Beliefs, and Cultural Animation of Thai Buddhist Culture,"
Manusya, Journal of Humanities: Vol. 23:
No.
1, Article 4.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/manusya/vol23/iss1/4