•  
  •  
 

Journal of Letters

Publication Date

2020-01-01

Abstract

The origin of Khorat language has been a controversial issue among linguists. Three hypotheses are proposed. Firstly, Khorat is the result of the Yo system recoding to Bangkok Thai. Secondly, Khorat is a Lao dialect whose tones have been influenced by Central Thai. Thirdly, Khorat is a Lao dialect that has shifted to Thai but manifested Lao tone substratum. Most of the hypotheses, however, are based on phonological phenomena, especially the tone systems. In this article, evidence on category, structure and vocalic sound symbolism of ideophones in Khorat is proposed. It is found that some of the ideophone structures and vocalic sound symbolism in Khorat are exclusively the same as those in Lao. Therefore, the findings support the hypothesis that Khorat originated from a group of Lao speakers who had shifted their language to Thai but manifested Lao substratum influence on some ideophones. (ความเป็นมาของภาษาโคราชยังเป็นข้อถกเถียงของนักภาษาศาสตร์ มีการเสนอสมมติฐานอยู่ 3 ประการ ประการแรกเสนอว่า ภาษาโคราชเป็นผลจากการปรับเปลี่ยนระบบภาษาย่อให้เป็นภาษาไทยกรุงเทพฯ ประการที่สองเสนอว่าภาษาโคราชเป็นภาษา ลาวที่ได้รับอิทธิพลด้านวรรณยุกต์มาจากภาษาไทยถิ่นกลาง และประการที่สามเสนอว่าภาษาโคราชเป็นภาษาลาวถิ่นหนึ่งที่ เปลี่ยนไปเป็นภาษาไทย แต่ยังคงปรากฏวรรณยุกต์ของภาษาพื้นเดิมลาว อย่างไรก็ตาม สมมติฐานทั้งหมดนี้เกี่ยวข้องกับ ปรากฏการณ์ทางเสียง โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบวรรณยุกต์เท่านั้น บทความนี้ได้นําหลักฐานทางด้านประเภท โครงสร้างคํา รวมทั้งการใช้เสียงสระสื่อความที่ปรากฏในคําอีดิโอโฟนภาษาโคราชมานําเสนอ ผลการศึกษาพบว่า ภาษาโคราชมีคําอีดิโอโฟน จํานวนหนึ่งที่มีโครงสร้างคําและมีการใช้เสียงสระสื่อความที่เป็นลักษณะเฉพาะของภาษาลาว ดังนั้น ข้อค้นพบดังกล่าวจึง สนับสนุนสมมติฐานที่ว่า ภาษาโคราชมีที่มาจากการที่ผู้พูดภาษาลาวกลุ่มหนึ่งในอดีตได้เปลี่ยนภาษาของตนไปเป็นภาษาไทย แต่ยังคงแสดงอิทธิพลของภาษาพื้นเดิมลาวไว้ในคำอีดิโอโฟนจํานวนหนึ่ง)

DOI

10.58837/CHULA.JLETTERS.49.1.4

First Page

73

Last Page

91

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.