•  
  •  
 

Journal of Letters

Publication Date

2019-07-01

Abstract

Bot Lakhon Rueang Dalang Chabap Muen Chamnian, a literary work of unknown origin, was recorded in a Samut Thai, or a folded paper book, and is now kept at Chiang Mai university library. It is inscribed on the book cover that Muen Chamnian wrote the text. Bot Lakhon Rueang Dalang Chabap Muen Chamnian is a different version of Bot Lakhon Rueang Dalang of King Rama I. It starts from a scene in which Panyi enters the Manya kingdom, and moves forward to a scene in which Butsaba and Karattika disguise themselves as male dancers and make a journey in search of Panyi, their husband. This paper aims to examine the characteristics and establish the date of composition of Bot Lakhon Rueang Dalang Chabap Muen Chamnian by comparing it with the Dalang of King Rama I. The study finds that Bot Lakhon Rueang Dalang Chabap Muen Chamnian has many characteristics that are different from the Dalang of King Rama I: some contents, proper names, words and phrases are different from those in King Rama I's Dalang; the verses for shadow puppetry (Bot Phak) are inserted in the text; certain words and Naphat songs are used, like those in Bot Lakhon composed before the Rattanakosin period. These characteristics illuminate the differences in style of performance between Bot Lakhon Rueang Dalang Chabap Muen Chamnian and the Dalang of King Rama I. They also indicate that Bot Lakhon Rueang Dalang Chabap Muen Chamnian was composed before the Dalang of King Rama I. Bot Lakhon Rueang Dalang Chabap Muen Chamnian, therefore, should be recognized as the earliest version of the Dalang in Thai literature, contributing to deeper knowledge of the history of Dalang literature.(บทละครเรื่องดาหลังฉบับหมื่นจําเนียร เขียนอยู่ในสมุุดไทย 1 เล่มหน้าปกระบุว่าหมื่นจําเนียรเป็นผู้เขียนมีเนื้อหาตั้งแต่ ปันหยีเข้าเมืองมันหยาจนถึงบุษบาและกะรัดติกาปลอมตัวเป็นชายนักรำออกตามหาปันหยี ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ บทละครเรื่องดาหลังฉบับนี้มีทั้งส่วนที่เหมือนและต่างไปจากบทละครเรื่องดาหลังฉบับพระราชนิพนธ์รัชกาลที่ 1 และไม่ปรากฏหลังฐานเกี่ยวกับผู้แต่งและสมัยที่แต่ง บทความนี้จึงมุ่งศึกษาลักษณะเด่นและยุคสมัยที่แต่งบทละครเรื่องดาหลังฉบับนี้ โดยการเปรียบเทียบกับบทละครเรื่องดาหลังฉบับพระราชนิพนธ์รัชกาลที่ 1 ผลการศึกษาพบว่า บทละครเรื่องดาหลังฉบับหมื่นจำเนียรมีลักษณะเด่นที่ต่างกับบทละครเรื่องดาหลังฉบับพระราชนิพนธ์รัชกาลที่ 1 หลายประการ ได้แก่ การมีรายละเอียดเนื้อหา ชื่อเฉพาะ และการใช้ภาษาในบทประพันธ์บางช่วงต่างกับฉบับพระราชนิพนธ์รัชกาลที่ 1 การมีบทพากษ์หนังแทรกในบท รวมทั้งการใช้ถ้อยคำและการลงเพลงหน้าพาทย์แบบบทละครยุคเก่าก่อนสมัยรัตนโกสินทร์ ลักษณ์เด่นดังกล่าวไม่เพียงแต่สะท้อนให้เห็นว่า บทละครดาหลังฉบับหมื่นจำเนียรมีกระบวนแสดงบางประการต่างกับบทละครเรื่องดาหลังฉบับพระราชนิพนธ์รัชกาลที่ 1 เท่านั้น แต่ยังทำให้ตั้งข้อสันนิษฐานเรื่องยุคสมัยที่แต่งได้ว่าฉบับหมื่นจำเนียรน่าจะแต่งขึ้นก่อนบทละครเรื่องดาหลังฉบับพระราชนิพนธ์รัชกาลที่ 1 บทละครเรื่องดาหลังฉบับหมื่นจำเนียรจึงเป็นเรื่องดาหลังฉบับที่เก่าที่สุดเท่าที่พบในขณะนี้ และนับเป็นหลักฐานสำคัญที่ช่วยต่อเติมประวัติวรรณคดีเรื่องดาหลัง)

DOI

10.58837/CHULA.JLETTERS.48.2.7

First Page

146

Last Page

173

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.