Journal of Letters
Publication Date
2019-07-01
Abstract
Research in Second Language Acquisition (SLA) shows that the Study Abroad context (SA) can improve the four core language skills: reading, writing, listening and speaking. However, the question of how much SA helps improve the perception of individual phonemes, a more specific skill, has not yet been widely addressed. This study investigates Thai students' perceptual ability with regards to French /g/ in phonetic environments which trigger contextual variations of the phoneme. Two groups of undergraduate Thai learners of French were involved: returnees from Francophone countries (Study Abroad context: SA) and those who had never been to Francophone countries (At Home context: AH). The research instrument is Two Groups Post-Test Comparison, which includes five series of tests spotting the phoneme /g/ preceding different vowels in various syllable structures. The results show no statistically significant difference between the two groups. The findings are likely due to the fact that phonemic perceptual ability is a very specific skill that needs tailored phonetic-phonological training to improve. When considering overall scores, both groups were able to perceive /g/ in unreal words with open syllables. Nevertheless, both groups were shown to be less perceptive of /g/ in real and longer words.(การวิจัยด้านการรับภาษาที่สอง (Second Language Acquisition: SLA) พบว่าบริบทการไปเรียนต่างประเทศ (Study Abroad context: SA) สามารถพัฒนาทักษะทางภาษาทั้งสี่ด้านได้ได้แก่การอ่านการเขียนการพูดและการฟังอย่างไรก็ดีประเด็นคําถามเกี่ยวกับการรับรู้เสียงซึ่งเป็นทักษะที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้นหลังจากการไปเรียนต่างประเทศ (SA) ยังไม่ถูกกล่าวถึงมากนักงานวิจัยชิ้นนี้ศึกษาความสามารถของนิสิตในการรับรู้หน่วยเสียง/g/ ในภาษาฝรั่งเศสในบริบททางเสียงต่างๆที่ทําให้เกิดรูปแปรของหน่วยเสียง/g/ผู้ร่วมการทดลองประกอบด้วยนิสิตผู้เรียนภาษาฝรั่งเศสสองกลุ่มคือกลุ่มที่กลับมาจากการไปเรียนในประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส (Study Abroad context: SA) และกลุ่มที่ไม่เคยไปเรียนในประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส (At Home context: AH) การทดลองเป็นแบบสองกลุ่มเปรียบเทียบผลคะแนนแบบทดสอบ (Two Groups Post-Test Comparison) ประกอบด้วยแบบทดสอบห้าชุดที่มีหน่วยเสียง/g/ปรากฏหน้าสระต่างๆในโครงสร้างพยางค์ที่หลากหลายผลการทดลองไม่พบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติระหว่างคะแนนของทั้งสองกลุ่มซึ่งอาจเป็นเพราะการรับรู้หน่วยเสียงในภาษาต่างประเทศเป็นทักษะเฉพาะที่ต้องอาศัยการฝึกฝนเฉพาะทางด้านสัทศาสตร์และสัทวิทยาเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างไรก็ดีเมื่อพิจารณาคะแนนแบบทดสอบในภาพรวมนิสิตทั้งสองกลุ่มสามารถรับรู้หน่วยเสียง/g/ได้ในคําไม่จริงและมีโครงสร้างพยางค์เป็นพยางค์เปิดแต่นิสิตรับรู้หน่วยเสียง/g/ได้น้อยลงในคําจริงที่ยาวขึ้น)
DOI
10.58837/CHULA.JLETTERS.48.2.3
First Page
52
Last Page
75
Recommended Citation
Kampeera, Wannachai
(2019)
"Perception of /g/ in French: A Comparative Study of Students with and without Experience of Studying Abroad(การรับรู้หน่วยเสียง/g/ในภาษาฝรั่งเศส : การศึกษาเชิงเปรียบเทียบระหว่างนิสิตที่มีกับไม่มีประสบการณ์การไปเรียนต่างประเทศ),"
Journal of Letters: Vol. 48:
Iss.
2, Article 3.
DOI: 10.58837/CHULA.JLETTERS.48.2.3
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/jletters/vol48/iss2/3