Journal of Letters
Publication Date
2019-01-01
Abstract
This article examines conceptual metaphors relating to "the Chinese Dream", a term popularized after 2013 within Chinese socialist thought that describes a set of personal and national ideals in the People's Republic of China and the Communist Party of China. A semantic analysis was made of the linguistic data of this phrase associated with Xi Jinping, General Secretary of the Communist Party of China, President of the People's Republic of China, and Chairman of the Central Military Commission. Conceptual Metaphor Theory (CMT), within the field of cognitive linguistics, as investigated by George Lakoff and Mark Johnson (1980), as well as Zoltán Kövecses (2002; 2005), provided the background framework for this article. Data was obtained from three Chinese-language books: Xi Jinping The Governance of China Volumes 1 & 2 and The Chinese Dream of the Great Rejuvenation of the Chinese Nation. Results revealed four categories of conceptual metaphors: (1) [CHINESE DREAM IS A FAMILY] (2) [CHINESE DREAM IS A JOURNEY] (3) [CHINESE DREAM IS A BUILDING] (4) [CHINESE DREAM IS A WAR], as well as other evidence of universal concepts inspired by political leaders. Most importantly, the family metaphor may reflect the unique ideas or views of President Xi Jinping as Chinese supreme leader. Historical, political and cultural factors help form these conceptual metaphors, which are inspirationally employed by Chinese people at home and overseas to participate in the great rejuvenation of the Chinese nation and to make the Chinese Dream come true as quickly as possible.(งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์เกี่ยวกับ "ความฝันจีน" จากลักษณะการใช้ภาษาแบบอุปลักษณ์ของประธานาธิบดีจีนสีจิ้นผิงที่เกี่ยวกับการบริหารประเทศจีนโดยอาศัยแนวคิดทฤษฎีอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์(Conceptual Metaphor Theory) ของเลคอฟและจอห์นสัน (Lakoff and Johnson 1980) และโคเวคเซส (Kövecses 2002; 2005) เป็นพื้นฐานในการศึกษาข้อมูลที่ใช้ในการศึกษานํามาจากการเก็บรวบรวมข้อความต่างๆจากหนังสือต้นฉบับภาษาจีนสามเล่มได้แก่ "สีจิ้นผิงยุทธศาสตร์การบริหารประเทศเล่ม 1& 2" และ "การบรรยายของสีจิ้นผิงเกี่ยวกับการบรรลุความฝันจีนสู่การฟื้นฟูความเจริญรุ่งเรืองแห่งประชาชาติจีน" ผลการศึกษาพบว่ารูปภาษาแสดงอุปลักษณ์ที่ปรากฏในการสะท้อนมโนทัศน์"ความฝันจีน" มีจํานวน 4 มโนทัศน์ได้แก่ (1) [ความฝันจีนคือครอบครัว] (2) [ความฝันจีนคือการเดินทาง](3) [ความฝันจีนคือการก่อสร้าง] (4) [ความฝันจีนคือสงคราม]การใช้มโนอุปลักษณ์เหล่านี้ไม่เพียงแต่เป็นหลักฐานในการแสดงถึงความเป็นสากลซึ่งมีลักษณะเดียวกันกับผู้นําและนักการเมืองประเทศอื่นๆแต่ประกอบด้วยประเด็นที่สําคัญอย่างยิ่งคือการเลือกใช้อุปลักษณ์บางประเภทเช่นอุปลักษณ์ครอบครัวสามารถสะท้อนให้เห็นถึงความคิดหรือทัศนะของประธานาธิบดีสีจิ้นผิงในฐานะผู้นําสูงสุดของพรรคคอมมิวนิสต์จีนและสาธารณรัฐประชาชนจีนได้อย่างมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวซึ่งปัจจัยทางด้านประวัติศาสตร์การเมืองและวัฒนธรรมของจีนเป็นเหตุให้เกิดมโนอุปลักษณ์จนส่งผลต่อการเลือกใช้อุปลักษณ์ดังกล่าวเพื่อปลุกเร้าใจชาวจีนทุกคนทั้งในแผ่นดินใหญ่และที่อยู่ต่างแดนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการฟื้นฟูความเจริญรุ่งเรืองแห่งประชาชาติจีนเพื่อให้ความฝันของประชาชนจีนที่มีร่วมกันบรรลุถึงเป้าหมายได้ในเร็ววัน)
DOI
10.58837/CHULA.JLETTERS.48.1.1
First Page
1
Last Page
40
Recommended Citation
Siqi, Yao
(2019)
"Conceptual Metaphors of "the Chinese Dream" and President Xi Jinping's Strategy for the Governance of China(อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ "ความฝันจีน" กับยุทธศาสตร์การบริหารประเทศของประธานาธิบดีจีนสีจิ้นผิง),"
Journal of Letters: Vol. 48:
Iss.
1, Article 1.
DOI: 10.58837/CHULA.JLETTERS.48.1.1
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/jletters/vol48/iss1/1