Journal of Letters
Publication Date
2018-01-01
Abstract
Poetic egotism, defined as confidence of poets' self or works, probably appears in Sanskritliterature since Itihāsaperiod. The concept has previously been focused on works themselves and later on that relating to poet's self since Subandhu, a Sanskrit poet in 6thcentury. Amongst Sanskritpoets, Banashows his own egotism remarkably. It is, therefore, the objective to study characteristic of Bana's poetic egotism represented in his works and the reasons behind the egotism. The findings are Bana is very famous amongst poets in later period. It is noticeable that poets contemporarywith him do not give him any compliments, whereas Bana shows egotism outstandingly, as can be seen in eulogies of his own family and himself, hiding himself through Ślesa, a kind of Sanskrit punning, insincere condescension, and violent criticism to others. Bana's remarkable egotism reflects that he wanted to find exploitation to himself in Harsa's royal court because he might become one of royal poetsin almost the end ofhis reign. Besides, poetic egotism is representedto conceal self-diffidence as well, as can be seen from reference to 'other' in his egotism atthe same time, which Sanskrit poets never do. Hence, Bana's poetic egotism shows some complicated characteristics and not to be regarded as just confidence in poetic skill without considering behind the scenes.(อหังการแห่งกวีอาจนิยามได้ว่า หมายถึงความเชื่อมั่นของกวีซึ่งเป็นความเชื่อมั่นในตนเองหรืองานของตนก็ได้ ความคิดนี้น่าจะเริ่มปรากฏในวรรณคดีสันสกฤตมาตั้งแต่สมัยอิติหาสะแต่เดิมนั้นเป็นความคิดเกี่ยวกับตัวงาน ไม่เน้นตัวตนของกวี อหังการแห่งกวีเริ่มเกี่ยวกับตัวตนของกวีตั้งแต่สุพันธุ กวีในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 6 ในบรรดากวีสันสกฤตทั้งหลาย พาณะเป็นกวีที่แสดงอหังการไว้อย่างน่าสนใจ บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอหังการของพาณะว่ามีลักษณะอย่างไร เหตุใดพาณะจึงต้องแสดงอหังการเช่นนั้น ผลการศึกษาพบว่า พาณะเป็นกวีที่มีชื่อเสียงมากในหมู่กวียุคหลัง น่าสังเกตว่า กวีร่วมสมัยกับพาณะไม่กล่าวยกย่องพาณะไว้แต่อย่างใด ในขณะที่พาณะแสดงอหังการไว้อย่างโดดเด่น ดังจะเห็นได้จากการยกย่องวงศ์ตระกูลและตนเอง การพรางตนเองด้วยเศลษะ การถ่อมตัวอย่างไม่จริงใจ และการวิพากษ์วิจารณ์ผู้อื่นอย่างรุนแรง การแสดงอหังการอย่างโดดเด่นเช่นนี้สะท้อนให้เห็นว่าพาณะต้องการแสวงหาพื้นที่ให้ตนเองในราชสำนัก เนื่องจากเขาได้เป็นกวีในปลายรัชสมัยของพระเจ้าหรรษะแล้ว นอกจากนี้ อหังการแห่งกวียังเป็นการแสดงออกเพื่อปิดบังความไม่มั่นใจในตนเองอีกด้วย ดังจะเห็นว่ามี "คนอื่น" อยู่ในอหังการของพาณะซึ่งกวีคนอื่นไม่ทำเช่นนี้ ด้วยเหตุนี้ การแสดงอหังการของพาณะจึงสะท้อนให้เห็นอหังการแห่งกวีที่มีลักษณะซับซ้อน และไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นการแสดงความมั่นใจในฝีมือทางการประพันธ์ของกวีแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น)
DOI
10.58837/CHULA.JLETTERS.47.1.5
First Page
191
Last Page
226
Recommended Citation
Vannavach, Nawin and Tudkeao, Chanwit
(2018)
"Bana: The Poet with Egotism(พาณะ: กวีผู้มีอหังการ),"
Journal of Letters: Vol. 47:
Iss.
1, Article 5.
DOI: 10.58837/CHULA.JLETTERS.47.1.5
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/jletters/vol47/iss1/5