•  
  •  
 

Journal of Letters

Publication Date

2018-01-01

Abstract

This research studies different types of sentence structures regarded as hindrances to an understanding of English poetry amongThai students, especially beginners, and suggests teaching activities to help reduce such problems. The sentence structures hypothesized to present obstacles are syntactic classes, pronoun references, inversion, coordination of noun phrases, verb phrases and adverb-like phrases, and phrasal and clausal modifiers as interrupting modifiers. The researchers designed questions to check the aforementioned grammar points, using three selected poems: Robert Frost's "Out, Out - ," Henry Wadsworth Longfellow's "The Cross of Snow," and Dudley Randall's "Ballad of Birmingham." The subjects of the research were English-major sophomores. The findings show that these grammar points are not the sole factors impeding the understanding of English poems; there are other factors involved as well. Those factors are sentence length, the distance between the heads and the modifiers, and the insertion of other modifiers between a head and its modifier. The researchers also suggest before - between - after activities expected to enhance the understanding of English poetry among Thai students.(บทความวิจัยนี้มุ่งศึกษาโครงสร้างประโยคประเภทต่าง ๆ ที่เป็นอุปสรรคในการเข้าใจกวีนิพนธ์ภาษาอังกฤษของผู้เรียนชาวไทยโดยเฉพาะผู้เริ่มต้นศึกษาและนำเสนอแนวทางการสอนเพื่อลดอุปสรรคดังกล่าว ประเด็นทางไวยากรณ์ที่คาดว่าจะเป็นอุปสรรคในการเข้าใจบทกวีได้แก่ ประเภททางไวยากรณ์ของคำ การใช้คำสรรพนามอ้างอิง การผกผันตำแหน่งทางไวยากรณ์การเชื่อมนามวลี กริยาวลีและวลีที่ทำหน้าที่เหมือนกริยาวิเศษณ์ ส่วนขยายในระดับวลีและอนุประโยคที่มาแทรกระหว่างโครงสร้างต่าง ๆ ผู้วิจัยตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นทางไวยากรณ์เหล่านี้จากบทกวีคัดสรร 3 บท คือ"Out, Out - " ของ Robert Frost "The Cross of Snow" ของ Henry Wadsworth Longfellow และ "Ballad of Birmingham"ของ Dudley Randall ให้ผู้เข้าร่วมวิจัยซึ่งเป็นนิสิตเอกภาษาอังกฤษ ชั้นปีที่ 2 ทำผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า ระดับความยากง่ายของโครงสร้างประโยคกวีนิพนธ์ไม่ได้อยู่ที่ประเด็นทางไวยากรณ์ เนื่องจากประเด็นทางไวยากรณ์เดียวกันอาจมีความยากง่ายต่างกันขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ กล่าวคือ ความยาวของโครงสร้าง ระยะห่างระหว่างส่วนขยายและส่วนที่ถูกขยาย ระยะระหว่างสรรพนามและสิ่งที่สรรพนามนั้นอ้างอิง และการมีโครงสร้างอื่นมาขยายและแทรกระหว่างกลางส่วนที่ถูกขยาย รวมไปถึงความยาว องค์ประกอบ และความซับซ้อนของส่วนขยายที่มาแทรก ผู้วิจัยจึงได้เสนอกิจกรรมก่อน-ระหว่าง-หลังการอ่านเพื่อช่วยให้เกิดสัมฤทธิผลในการศึกษากวีนิพนธ์ของผู้เรียน)

DOI

10.58837/CHULA.JLETTERS.47.1.3

First Page

93

Last Page

160

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.