Journal of Letters
Publication Date
2017-07-01
Abstract
This research aims at creating "Lai-La," acontemporary Nora performance based on Stanislavski's Method of Acting. The performance is expected to realistically and persuasively express characters' objectives, conflictsand feelings. This study usedvarious methodsof analysisincluding literature reviews, interviewsand observations. The information gathered is then used forproducing the contemporary Noraperformance "Lai-La."The research reveals a new method to create a contemporary Nora performance based on Stanislavski's Method of Acting. The researcher has chosen the traditional Nora "Krabi-Tee-Tha"performance from Nora Thammanit Sanguansil Troupe as a case study. It is evident that actors could apply their personal experiences toaccess characters' moods, leading to a more realistic and convincing performance,as found in a stage play. The process can be explained as follows. The first step isthe creation of a new character, which is Peacock, considered as themain source of conflict,resulting in afight between two Norahunters. This would not only make actors more focused on the performance's objective, leading to a more practical performance eventually, but it also makes audiences becomemore engaged, as they hopethe hunters successfully catch Peacock, or look forward to seeing what will happen next. Secondly, there was acreation of new dance moves using improvised dance moves,derived from actions and movements of local performances.Thesewerebased on actors' belief in the characters' needsand conflicts. After the dance moves are analyzed and properly groomed, the performance will finally be more intense, more meaningful and clearer for the audience.The last process is song selection. This includes selected songs and folk musical instruments contributing to more interaction with performers using the improvisation technique. These would make the performance more flexible andflowing. Moreover, the expression of characters' feelings isconsideredmore "realistic" due to the harmonious combination between music and performance. (การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสรรค์การแสดงโนราร่วมสมัยชุด "ไล่ล่า" ตามแนวคิดกลวิธีการแสดงของ สตานิสลาฟสกี (Stanislavski's Method of Acting) ที่สามารถสื่อสารความต้องการ (objective) ความขัดแย้ง (conflict) และอารมณ์ความรู้สึก(feeling) ของตัวละครได้อย่างสมจริงและน่าเชื่อ โดยการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์ การสังเกตการณ์และนำข้อมูลที่ได้มาสร้างผลงานการแสดงโนราร่วมสมัยชุด "ไล่ล่า"จากการศึกษา ผู้วิจัยได้สร้างสรรค์การแสดงร่วมสมัยโดยใช้แนวคิดกลวิธีการแสดงของสตานิสลาฟสกีมาเป็นแนวทางในการสร้างสรรค์ผลงานเมื่อเลือกศึกษาท่ารำจากการแสดงกระบี่ตีท่าในการแสดงโนราแบบดั้งเดิมของคณะโนราธรรมนิตย์สงวนศิลป์พบว่านักแสดงสามารถเชื่อมโยงประสบการณ์ชีวิตของตนเองมาสร้างกระบวนการเข้าถึงตัวละครได้ทำให้การสื่อสารการแสดงมีความสมจริงและน่าเชื่อซึ่งสามารถอธิบายตามองค์ประกอบทางการแสดงได้ดังนี้1) สร้างตัวละครใหม่คือ นกยูง มาเป็นความขัดแย้งและเส้นเรื่องให้พรานโนราทั้ง2 คนต่อสู้กันทำให้นักแสดงมีเป้าหมายในการแสดงที่เป็นรูปธรรม ผู้ชมมีจุดรวมสมาธิที่เป็นหนึ่งเดียว สามารถติดตามเรื่องโดยเอาใจช่วยให้พรานโนราจับนกยูงได้ และหากไม่ได้ก็มีสถานการณ์ให้ติดตามว่าจะเกิดอะไรขึ้นต่อไป2) ออกแบบลีลาโดยใช้วิธีการด้นสด(improvisation) ด้วยท่ารำและการเคลื่อนไหวจากการแสดงพื้นบ้านอันมาจากการสร้างสรรค์ของนักแสดงภายใต้ความเชื่อในความต้องการและความขัดแย้งของตัวละคร และเมื่อน าท่าทางมาประเมินผลและขัดเกลาให้เป็นระเบียบ การแสดงชุดนี้จึงความเข้มข้น มีความหมายและสื่อสารกับผู้ชมได้อย่างมีประสิทธิภาพ3)การกำหนดเพลง การเลือกใช้เครื่องดนตรีโนราบางชิ้นมาบรรเลงและมีการด้นสดเพื่อมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบ (interaction) กับนักแสดง การแสดงในแต่ละครั้งจึงยืดหยุ่นและลื่นไหล อารมณ์ที่สื่อถึงผู้ชมจึงเป็นอารมณ์ที่"สด" เกิดจากการประสานระหว่างการแสดงกับดนตรี)
DOI
10.58837/CHULA.JLETTERS.46.2.3
First Page
105
Last Page
170
Recommended Citation
Padungsestakit, Wanasak
(2017)
"Lai-La: The Creation of Contemporary Nora Performance Based on Stanislavski's Method of Acting("ไล่ล่า" การสร้างสรรค์การแสดงโนราร่วมสมัยตามแนวคิดกลวิธีการแสดงของสตานิสลาฟสกี),"
Journal of Letters: Vol. 46:
Iss.
2, Article 3.
DOI: 10.58837/CHULA.JLETTERS.46.2.3
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/jletters/vol46/iss2/3