Journal of Letters
Publication Date
2017-07-01
Abstract
The purpose of this research was to study the conceptual metaphor "HUMAN BEINGS ARE ANIMALS" in "Water Margin", one of the four greatworks ofChinese classical literatureattributed to Shi Nai'an, parts of which originated in the 14th century. How the animal-related metaphorical expressions reflect theunderlying conceptual system of Chinese speakers and cultural models was also examined. The data were collected from the original version of "Water Margin" and analyzed withConceptual Metaphor Theory (CMT),as put forward by George Lakoff and Mark Johnson (1980). The "GREAT CHAIN OF BEING" system of George Lakoff and Mark Turner (1989) and cognitive metaphorical model of "HUMAN BEINGS ARE ANIMALS" by Zoltán Kövecses (2002) were also utilized. There wereatotalof48 relevant nicknames of characters in the novel to be analysed.The results were that two main metaphorical categories were used in these nicknames, which were:(1) HUMAN BEINGS ARE NATURAL ANIMALSand (2) HUMAN BEINGS ARE MYTHICALANIMALS. Metaphorical expressions foundin this research not only reflected aesthetic valuesand authorial skills, but also the Chinese conceptual system that "HUMAN BEINGS ARE ANIMALS", based in part on cultural experiences, including traditional beliefs, and the cultural and social environment of ancient Chinese life. Thesefindingsmay help readers deepen their understanding of classic Chinese literature.(งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ "มนุษย์เป็นสัตว์" และมโนทัศน์ของผู้ใช้ภาษาซึ่งสะท้อนจากการใช้อุปลักษณ์สัตว์ที่ปรากฏในสมญานามจากวรรณกรรมจีนเรื่อง 水浒传/ʂʰuei214 xu214 tʂuan51/(ซ้องกั๋ง) ต้นฉบับภาษาจีน ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีนที่เขียนขึ้นในศตวรรษที่ 14 โดยผู้ประพันธ์ซื่อไหน่อัน (Shi Nai'an) การวิเคราะห์สมญานามของตัวละครในงานวิจัยฉบับนี้มีจ านวนทั้งสิ้น 48 สมญานาม ผู้วิจัยได้ประยุกต์ใช้ทฤษฎีการศึกษาอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ (Conceptual Metaphor) โดยนำแนวคิดของเลคอฟและจอห์นสัน (Lakoff and Johnson 1980) เลคอฟและเทอร์เนอร์ (Lakoff and Turner 1989) และโคเวคเซส(Kövecses 2002) มาใช้เป็นกรอบทฤษฎีหลักในการศึกษา ผลการศึกษาพบอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ "มนุษย์เป็นสัตว์" ที่สะท้อนจากสมญานามของตัวละครซึ่งสามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภทหลักตามลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ (1) มนุษย์เป็นสัตว์ที่มีตัวตนอยู่จริงและ (2) มนุษย์เป็นสัตว์เหนือธรรมชาติ ทั้งนี้ไม่เพียงแต่แสดงถึงความรู้ความสามารถทางการใช้ภาษาของผู้สร้างสมญานามเท่านั้น แต่ยังสะท้อนให้เห็นถึงระบบความคิดของผู้ใช้ภาษา ซึ่งได้รับอิทธิพลจากความเชื่อ และประเพณีวัฒนธรรมรวมถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนจีนสมัยโบราณนอกจากนี้การใช้อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ "มนุษย์เป็นสัตว์" ยังสร้างความน่าสนใจและสื่อความหมายอันลึกซึ้งมายังผู้อ่าน)
DOI
10.58837/CHULA.JLETTERS.46.2.1
First Page
1
Last Page
43
Recommended Citation
Siqi, Yao
(2017)
"Conceptual Metaphor "HUMAN BEINGS ARE ANIMALS": A Case Study of Nicknames in Chinese Literature of "Water Margin"(อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ "มนุษย์เป็นสัตว์":กรณีศึกษาสมญานามในวรรณกรรมจีนเรื่อง水浒传/ʂʰuei214 xu214 tʂuan51/(ซ้องกั๋ง)),"
Journal of Letters: Vol. 46:
Iss.
2, Article 1.
DOI: 10.58837/CHULA.JLETTERS.46.2.1
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/jletters/vol46/iss2/1