•  
  •  
 

Journal of Letters

Authors

Yao Siqi

Publication Date

2016-07-01

Abstract

The objective of this research is to study animal metaphors in Mandarin Chinese, especially those relating tophoenixesand chickens. The analysis focuses on using the Conceptual Metaphor Theory proposed byLakoff and Johnson (2003) to explain theprocess whereby things are compared tothese two kinds of animal.The data were derived from the Chinese National Corpus created by the Centerfor Chinese Linguistics at Peking University. The results from 116 sentences with phoenix metaphors reflect two main conceptual metaphors: HUMAM BEINGSARE PHOENIXESand INANIMATE THINGS ARE PHOENIXES. For the chicken metaphors, atotalof279 exampleswere divided into two main categories: HUMAM BEINGS ARE CHICKENSand INANIMATE THINGS ARE CHICKENS. Each major conceptual metaphor contains various subcategories. The mappingsfrom the source domains PHOENIXESand CHICKENSto the target domains HUMANBEINGSand INANIMATE THINGSare made possible dueto the existence of correspondences between the two domains. Moreover, the findingsdemonstratenot only conceptual metaphorsinvolvingthese two kinds of animal, but also the relationship beliefs concerning such animals among Chinese peopleand their traditional culture and social customs.(งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์เกี่ยวกับสัตว์ประเภทหงส์และไก่ โดยมุ่งอธิบายถึงลักษณะการใช้ภาษาจีนมาตรฐาน (mandarin Chinese) เพื่อเปรียบเทียบสรรพสิ่งต่างๆเป็นสัตว์ทั้งสองประเภทนี้ เป็นอุปลักษณ์สัตว์ตามแนวคิดทฤษฎีอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ของเลคอฟและจอห์นสัน (Lakoff and Johnson, 2003) โดยเก็บรวบรวมข้อมูลประโยคจากฐานข้อมูลของศูนย์วิจัยภาษาศาสตร์ภาษาจีนมหาวิทยาลัยปักกิ่ง (Center for Chinese Linguistics Peking University)ผลการศึกษาพบว่า ประโยคที่แสดงอุปลักษณ์สัตว์ประเภทหงส์มีจำนวนทั้งสิ้น 116 ประโยค สามารถสรุปเป็นมโนอุปลักษณ์ 2 ประเภทหลัก ได้แก่ มนุษย์เป็นหงส์และสิ่งไม่มีชีวิตเป็นหงส์สำหรับประโยคที่แสดงอุปลักษณ์สัตว์ประเภทไก่มีจำนวนทั้งสิ้น 279 ประโยค และพบมโนอุปลักษณ์ 2 ประเภทหลักเช่นกัน ได้แก่ มนุษย์เป็นไก่และสิ่งไม่มีชีวิตเป็นไก่ส่วนอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์แต่ละประเภทหลักนั้นต่างก็ประกอบด้วยมโนอุปลักษณ์ย่อย และสามารถอธิบายกระบวนการถ่ายโยงความหมายระหว่างคุณสมบัติของสัตว์ทั้งสองประเภทในแวดวงความหมายต้นทางจับคู่กับคุณสมบัติของสรรพสิ่งต่างๆ ในแวดวงความหมายปลายทาง นอกจากนี้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยไม่เพียงแต่แสดงให้เห็นถึงอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์เกี่ยวกับสัตว์ในภาษาจีนดังกล่าวเท่านั้น แต่ยังสะท้อนระบบความคิดของคนจีนที่ได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรม ประเพณีและขนบธรรมเนียมทางสังคมด้วยเช่นกัน)

DOI

10.58837/CHULA.JLETTERS.45.2.1

First Page

1

Last Page

58

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.