•  
  •  
 

Journal of Letters

Publication Date

2016-01-01

Abstract

This paper aims to investigate the factors which influence prosodic phrasing in Thai. The data comprise 107 utterances consist of simple, compound, and complex sentences. The complex sentences are structurally different among thîi or wâa verb-complement clause constructions, thîi noun-complement clause constructions, thîi or sɨ̂ŋ relative clause constructions, hâi or thamhâi causative constructions, and clauses preceded by sɨ̂ŋ or dooj discourse markers. To find prosodic constituent boundaries in each utterance, an online experimental test was conducted. 37 informants were asked to phrase the utterance by assigning a pause or pauses in certain positions in the utterances. The finding shows that there are syntactic and prosodic factors influencing prosodic phrasing in Thai, i.e., the right boundary of a clause, together with, the size and weight of a prosodic constituent that designate boundaries of prosodic constituents. Interestingly, instead of the number of the words, it is that of the syllables in the prosodic constituent that determines the size and weight of the prosodic constituent. This implies that there might be a level of prosodic constituents between the word and the phrase levels in the prosodic hierarchy.(งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่ามีปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อการแบ่งหน่วยทาง สัทสัมพันธ์ในภาษาไทย ถ้อยคำที่ใช้ในงานวิจัยนี้มีทั้งหมด 107 ถ้อยคำที่ประกอบด้วยประโยคความเดียว ประโยคความรวม และประโยคความซ้อน โดยประโยคความซ้อนมีโครงสร้างภายในอนุประโยคประกอบด้วยอนุประโยคเติมเต็มกริยาที่ขึ้นต้นด้วย ที่ และ ว่า อนุประโยคเติมเต็มนามที่ขึ้นต้นด้วย ที่ คุณานุประโยคที่ขึ้นต้นด้วย ที่ และ ซึ่ง หน่วยสร้างการีต ประกอบด้วยคำว่า ให้ และ ทำให้ หน่วยสร้างกรรมวาจกประกอบด้วยคำ ถูก และ โดน นอกจากนี้ยังมีอนุประโยคที่ขึ้นต้นด้วยคำบ่งชี้ปริจเฉท ซึ่ง และ โดย ขอบของหน่วยประกอบทางสัทสัมพันธ์ในแต่ละถ้อยคำได้จากการทำการทดลองผ่านเว็บไซต์ โดยให้ผู้ร่วมการทดลอง 37 คนระบุว่ามีตำแหน่งระหว่างคำตำแหน่งใดบ้างที่สามารถเว้นระยะการพูดได้ ผลการวิเคราะห์พบว่ามีปัจจัย 2 ปัจจัยที่มีผลต่อการแบ่งหน่วยประกอบทางสัทสัมพันธ์ในภาษาไทย คือ ปัจจัยทางวากยสัมพันธ์และปัจจัยทางสัทสัมพันธ์ซึ่งมีผลต่อการแบ่งหน่วยในระดับที่แตกต่างกัน โดยปัจจัยทางสัทสัมพันธ์คืออนุประโยค เป็นตัวกำหนดเขตของการแบ่งหน่วยประกอบทางสัทสัมพันธ์ในระดับที่ต่ำกว่า ส่วนปัจจัยทางสัทสัมพันธ์คือขนาดหรือน้ำหนักของหน่วยประกอบทางสัทสัมพันธ์ภายในอนุประโยคมีการพยายามรักษาขนาดของหน่วยประกอบทางสัทสัมพันธ์ให้มีขนาดแตกต่างกันมากเกินไป ประเด็นที่น่าสนใจคือน้ำหนักหรือขนาดของหน่วยทางสัทสัมพันธ์เป็นการนับจำนวนพยางค์แทนที่จะเป็นจำนวนคำทางสัทสัมพันธ์ ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าในภาษาไทยน่าจะมีประเภทของหน่วยประกอบทางสัทสัมพันธ์อีกประเภทหนึ่งที่อยู่ระหว่างระดับของคำทางสัทสัมพันธ์และวลีทางสัทสัมพันธ์)

DOI

10.58837/CHULA.JLETTERS.45.1.4

First Page

NULL

Last Page

NULL

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.