Journal of Letters
Publication Date
2006-07-01
Abstract
เพลงเลียนแบบพื้นบ้าน หรือ "คุนซ์ลีด" (Kunstlied) เป็นประเภทหนึ่ง (genre) ของงานศิลป์ที่มีลักษณะเด่นและมี เอกลักษณ์พิเศษได้รับความนิยมมากใน เยอรมนีโดยเฉพาะในระหว่างศตวรรษที่ 18 และ 19 เนื่องจาก "คุนซ์ลีด" เป็น ประเภทหนึ่ง (genre) ของวรรณคดีและในขณะเดียวกันก็เป็นประเภทหนึ่ง (genre) ของดนตรีด้วยเช่นกัน ในบทความวิจัยนี้ ผู้เขียนจะนำเสนอแง่มุมพิเศษของเพลงเลียนแบบพื้นบ้าน ว่า มีความหมายสองนัยในแง่ วรรณศิลป์ คือ เกี่ยวพันกับ กวีนิพนธ์ และมี ความหมายในแง่ คีตศิลป์ อย่างไร เพลงประเภทนี้ มีที่มา และ พัฒนา จากเพลง พื้นบ้าน (Volkslied) อย่างไร กับมีความสำคัญในแง่สังคม วัฒนธรรม การเมือง และ ในแง่วิชาการต่อวงการวรรณกรรม และดนตรีของเยอรมัน และของโลกอย่างไร
DOI
10.58837/CHULA.JLETTERS.35.2.2
First Page
27
Last Page
60
Recommended Citation
วัฒนางกูร, พรสรรค์
(2006)
"ประสานวรรณศิลป์และคีตศิลป์ : เพลงเลียนแบบพื้นบ้าน - ตัวแทนจิตวิญญาณ ชาวบ้านเยอรมัน,"
Journal of Letters: Vol. 35:
Iss.
2, Article 2.
DOI: 10.58837/CHULA.JLETTERS.35.2.2
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/jletters/vol35/iss2/2