Journal of Letters
Publication Date
2004-06-01
Abstract
คนขอทานในสังคมไทยสมัยจารีตมีสถานะทางสังคมต่ำสุดเสมอกับทาส แต่แม้ว่าจะมีสถานะดังกล่าวและถูกเหยียดหยาม สังคมสมัยจารีตยอมรับคนขอทานเป็นส่วนหนึ่งของสังคม อยู่ร่วม ทุกข์กันในวัฏสงสาร โดยมีทัศนะและวิธีปฏิบัติต่อคนขอทานวางอยู่ บนความเชื่อเรื่องบุญกรรม เรื่องเวทนาสงสาร เรื่องทาน และการให้ ทาน กระทั่งเมื่อล่วงเข้าสู่ช่วงรัฐสมัยใหม่ สายตาที่รัฐและคนสมัยใหม่ พิจารณาคนขอทานเริ่มเปลี่ยนไป คนขอทานถูกมองว่าเป็นคนที่ไร้ คุณภาพ ไร้ประโยชน์ กีดขวางความเจริญ ไม่เป็นที่ปรารถนา คนขอ ทานและคนจำพวกอื่น ๆ ที่ไม่เป็นที่พึงปรารถนาเหล่านี้จึงถูกกีดกัน และกำจัดออกนอกสายตาและวิถีความเจริญของรัฐและสังคมสมัยใหม่
DOI
10.58837/CHULA.JLETTERS.33.2.4
First Page
145
Last Page
196
Recommended Citation
บัวคำศรี, ธิบดี
(2004)
"ขอทานในสังคมไทย,"
Journal of Letters: Vol. 33:
Iss.
2, Article 4.
DOI: 10.58837/CHULA.JLETTERS.33.2.4
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/jletters/vol33/iss2/4