•  
  •  
 

Journal of Letters

Publication Date

1989-01-01

Abstract

การลงเสียงหนักเบา การหยุดเว้นระยะและความสั้นยาวของพยางค์ ควรได้รับการวิเคราะห์ไป พร้อม ๆ กัน ในลักษณะที่เป็นหน่วยประสมหรือที่เรียกกันว่า "หน่วยจังหวะ" จากการวิเคราะห์นิทานพื้นบ้าน ๔ เรื่องที่เล่าโดยคนญัฮกุร หรือชาวบน สรุปได้ว่า โครงสร้างหน่วยจังหวะของภาษาญัฮกุร มี 4 แบบ ซึ่ง เขียนเป็นสูตรได้ว่า หน่วยจังหวะแบบพยางค์เดียวและสองพยางค์เกิดบ่อยที่สุดในนิทาน ทั้ง 4 เรื่อง (ร้อยละ ๘๘.๘๓) เมื่อวิเคราะห์โดยอิงเกณฑ์ของอะเบอร์ครอมบี (๑๙๖๔) เกี่ยวกับการจัดประเภท ของภาษาว่ามีจังหวะแบบพยางค์หรือจังหวะแบบลงเสียงหนักเบาแล้ว สรุปได้ว่าภาษาญัฮกุรมิได้มีจังหวะทั้ง ๒ แบบดังกล่าว

DOI

10.58837/CHULA.JLETTERS.21.1.9

First Page

118

Last Page

144

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.