Journal of Letters
Publication Date
1980-01-01
Abstract
การวิเคราะห์คำถามนั้น นอกจากจะต้องวิเคราะห์ในแง่ของโครงสร้างของประโยคคำถามแล้ว ยังต้องพิจารณาลักษณะทางอรรถศาสตร์บางประการด้วย ทั้งนี้ เพราะลักษณะทางอรรถศาสตร์ อาจช่วยอธิบายความ แตกต่างของคำถามต่าง ๆ ชนิด ซึ่งไม่อาจอธิบายได้ โดยการวิเคราะห์ในแง่ของโครงสร้างแต่เพียงอย่างเดียว บทความเรื่อง "ผู้พูดกับประโยคคำถามแบบ ตอบรับ-ปฏิเสธ" แสดงให้เห็นว่า ลักษณะทาง อรรถศาสตร์ เช่น ข้อสมมติในการรู้ข้อเท็จจริงของผู้พูด (Presupposition of asserted facts), ความต้องการของผู้พูดที่จะแสดงความมั่นใจในข้อเท็จจริง, ความเชื่อดั้งเดิม (Presupposed belief) สามารถอธิบายความแตกต่างของคำถามแบบตอบรับ-ปฏิเสธ สีชนิด คือ หรือ หรือเปล่า ใช่ไหม ไหน ได้
DOI
10.58837/CHULA.JLETTERS.12.1.5
First Page
46
Last Page
53
Recommended Citation
กุลละวณิชย์, ปราณี
(1980)
"ผู้พูดกับประโยคคำถามแบบตอบรับ-ปฏิเสธ,"
Journal of Letters: Vol. 12:
Iss.
1, Article 6.
DOI: 10.58837/CHULA.JLETTERS.12.1.5
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/jletters/vol12/iss1/6