Abstract
The purposes of this research were to: (1) analyze the current and desirable states of developing teaching competency for visual art teachers of secondary schools; and (2) enhance the model of teaching competency development for visual art teachers of secondary schools. The research sample included 400 schools, with visual art teachers as respondents. The research instruments were questionnaire and interview. The data were analyzed by frequency distribution, percentage, average, standard deviation, and Modified Priority Needs Index (PNIModified). The results showed that: 1) knowledge management was considered as the highestlevel of priority need, followed by training, coaching and mentoring system respectively. In terms of competencies, the first ones which needed to be developed were skills and professional development, and lifelong learning. Regarding the appropriateness of the model,it showed that in order to enhance knowledge and skills, the most effective ways were training, coaching, and knowledge management. To develop the characteristics, the best way was using knowledge management. However, in terms of enhancing ethical standards and values, the most preferred way was the use of knowledge management combined with mentoring system. And for professional development and lifelong learning, the use of knowledge management, mentoring system, and training altogether was suggested; and 2) the developed method consisted of seven important components including coaching, mentoring, training and knowledge management, and it also contained 5 main competencieswhich were professional knowledge, skills, characteristics, ethical standards and values, and development and lifelong learning.(การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพอันพึงประสงค์ของการพัฒนาสมรรถนะการสอนสำหรับครูทัศนศิลป์ ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา (2) พัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการสอนสำหรับครูทัศนศิลป์ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ตัวอย่าง คือ โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา (สพม.) ทั่วประเทศ จำนวน 400 โรง ผู้ให้ข้อมูล คือ ครูทัศนศิลป์เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนี PNIModifiedผลการวิจัย พบว่า 1) การจัดการความรู้ มีลำดับความต้องการจำเป็นสูงสุด รองมาคือ การฝึกอบรม การสอนงาน และระบบพี่เลี้ยง ตามลำดับ สมรรถนะที่ควรพัฒนาอันดับแรก คือ ทักษะและการพัฒนาตนเองและการเรียนรู้ตลอดชีวิต การพัฒนาสมรรถนะด้านความรู้และทักษะ ต้องใช้วิธีฝึกอบรม การสอนงาน และการจัดการความรู้ ด้านคุณลักษณะต้องใช้การจัดการความรู้ ในส่วนของการพัฒนาสมรรถนะด้านมาตรฐานจริยธรรมและค่านิยม ต้องใช้การจัดการความรู้และระบบพี่เลี้ยง และสำหรับการพัฒนาตนเองและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ต้องใช้การจัดการความรู้ ระบบพี่เลี้ยง และการฝึกอบรม 2) รูปแบบที่พัฒนาขึ้นมีส่วนประกอบที่สำคัญ 7 ส่วน โดยองค์ประกอบของรูปแบบ ได้แก่ การสอนงาน ระบบพี่เลี้ยง การฝึกอบรม และการจัดการความรู้ และสมรรถนะหลัก 5 ส่วน คือ ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ จริยธรรมและค่านิยม และการพัฒนาตนเองและการเรียนรู้ตลอดชีวิต)
Publisher
Faculty of Education, Chulalongkorn University
First Page
106
Last Page
124
Recommended Citation
Pujeeb, Nuttida; Pichayapaiboon, Poonarat; and Keesookpun, Ekachai
(2020)
"The Model of Teaching Competency Development for Visual Art Teachers of Secondary Schools(รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการสอนสำหรับครูทัศนศิลป์ ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา),"
Journal of Education Studies: Vol. 48:
Iss.
3, Article 7.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/educujournal/vol48/iss3/7