Abstract
The purposes of this study were 1) to survey attitudes, awareness and appreciationof folk songs tales and 2) to create and study the result of using multimedia folk songs tales for the conservation of folk songs for kindergarteners. The participants of the study were 259 kindergarteners, aged 5-6 years old, from kindergartens schools in Phra Nakhon Si Ayutthaya,Nakhonpathom, and Suphanburi provinces. The research methodology was a research and development. The research procedures comprised 4 phrases: Phase 1 was to study basic information, attitudes, awareness, and appreciation of folk songs tales, the participants were school administrator, teachers, and kindergarteners; Phase 2 was to develop multimedia folk songs tales; Phase 3 was to try-out multimedia folk songs tales for 7 weeks long, 20 minutes per day, 3 days per week; and Phase 4 was to present the completed multimediafolk songs tales. The research results were found that the developed multimedia consisted of7 folk songs tales, user?s manual, and 21 lesson plans with DVD. After using developed multimedia, folk songs tales conservative behaviours mean scores of kindergarteners were higher than before at a significance level of .05.(วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) สำรวจทัศนคติ ความตระหนัก และการเห็นคุณค่าของศิลปะเพลงพื้นบ้านภาคกลาง 2) สร้างและศึกษาผลการใช้สื่อนิทานเพลงพื้นบ้านมัลติมีเดียเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ศิลปะเพลงพื้นบ้านภาคกลางสำหรับเด็กอนุบาล กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย คือ เด็กชาย-หญิงที่มีอายุ 5-6 ปี โรงเรียนอนุบาลในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดนครปฐม และจังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 259 คน งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา ประกอบด้วย ระยะที่ 1 การสำรวจข้อมูลพื้นฐาน ทัศนคติความตระหนัก และการเห็นคุณค่าของศิลปะเพลงพื้นบ้านภาคกลาง โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และเด็กอนุบาล ระยะที่ 2 การพัฒนาสื่อนิทานเพลงพื้นบ้านมัลติมีเดีย ระยะที่ 3 ทดลองใช้สื่อ จำนวน 7 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 20 นาที ระยะที่ 4 การนำเสนอสื่อนิทานเพลงพื้นบ้านมัลติมีเดียฉบับสมบูรณ์ ผลการวิจัย พบว่า สื่อที่พัฒนาขึ้น ได้แก่ นิทานเพลง จำนวน 7 เรื่อง คู่มือการใช้สื่อและแผนการจัดกิจกรรม จำนวน 21 แผน จัดทำในรูปแบบ DVD หลังการใช้สื่อที่พัฒนาขึ้น พบว่า เด็กอนุบาลมีค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการอนุรักษ์ศิลปะเพลงพื้นบ้านภาคกลางสูงขึ้นที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05)
Publisher
Faculty of Education, Chulalongkorn University
First Page
316
Last Page
331
Recommended Citation
Chuarklang, Rattaya; Dhirapongse, Sudthipan; and Boonchitsitsak, Chalapich
(2020)
"The Creation of Multimedia Folk Song Tales for the Conservation of Folk Songs for Kindergarteners(การสร้างนิทานเพลงพื้นบ้านมัลติมีเดียเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ศิลปะเพลงพื้นบ้านภาคกลางสำหรับเด็กอนุบาล),"
Journal of Education Studies: Vol. 48:
Iss.
3, Article 19.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/educujournal/vol48/iss3/19