•  
  •  
 

Abstract

This study aimed to compare the means of game addiction scores before and after the experiment conducted on the experimental group and the control group, 2) the means of game addiction scores of the experimental group and the control group after the experiment, and 3) the means of game addiction scores from parents of the experimental group participants before and after the experiment. The participants included 50 students in grades 8-9 from Wattanothaipayap School, Chiang Mai Province. 25 of the students were assigned to the experimental group, while the remaining 25 formed the control group. The experiment lasted for six weeks in total. The research instruments included a game addictionevaluation form and the Physical Activity Program based on Self-Regulation Theory, which is designed to decrease game addiction among lower secondary school students. The data was analysed using mean, standard deviation, and t-test.The results indicate that the mean of the game addiction scores of the experimentalgroup after the experiment was significantly lower than before the experiment (p < 0.05), while the mean score of the control group after the experiment was not significantly differentfrom before the experiment (p < 0.05). After the experiment, the mean of game addiction scores among the experimental group was found to be significantly lower compared to the control group (p < 0.05). Similarly, the mean of game addiction scores from parents of the participants in the experimental group decreased significantly after the experiment (p < 0.05).(การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมติดเกมก่อนและหลังการทดลองของกลุ่มทดลองและของกลุ่มควบคุม 2) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมติดเกมหลังการทดลองระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม 3) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมติดเกมก่อนและหลังการทดลองของกลุ่มทดลอง ประเมินโดยผู้ปกครอง ตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2?3 จำนวน 50 คน โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 25 คน และกลุ่มควบคุม จำนวน 25 คน ผู้วิจัยใช้โปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางกายตามทฤษฎีการกำกับตัวเองที่มีต่อการลดพฤติกรรมติดเกมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นเวลา 6 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบประเมินการติดเกม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า 1) ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมติดเกมหลังการทดลองของกลุ่มทดลองต่ำกว่าก่อนทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมติดเกมหลังการทดลองของกลุ่มควบคุม ไม่แตกต่างจากก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมติดเกมหลังการทดลองของกลุ่มทดลองต่ำกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมติดเกมซึ่งประเมินโดยผู้ปกครอง หลังการทดลองของกลุ่มทดลองต่ำกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05)

Publisher

Faculty of Education, Chulalongkorn University

First Page

184

Last Page

196

Included in

Education Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.