•  
  •  
 

Abstract

The concepts and techniques of world music pedagogy are used as tools for musiceducation reform. They introduce various music cultural heritage into classroom learning with a view to applying these varieties of music into the curriculum while at the same time, preserving the local cultures of the school. World music pedagogy enhances perspectives towards different musical traditions and helps build connections between culture and society. Appreciation of world music is a rapidly growing phenomenon and recognition of this popular global trend is something Thai teachers need to be aware of, and key aspects should be included in the Thai curricula of primary level. World music pedagogy includes five steps: attentive listening, engaged listening, enactive listening, creating world music, and integrating world music and aims to: 1) address content or method of music programs in this global era, 2) respond to call for social responsibility, 3) acknowledge culture-specificprinciples of music transmission and learning, 4) emphasize the intercultural facets of artists, teachers and learners, 5) involve learners in listening that leads to participation, performance-informance, creative-invention, and music as human behavior with cultural meanings.(แนวคิดและเทคนิคการสอนดนตรีโลกถูกนํามาใช้ในการปฏิรูปการสอนดนตรี โดยการนํามรดกทางวัฒนธรรมดนตรีที่หลากหลายทั่วโลกสู่ห้องเรียน และมีการพิจารณาว่าจะนําความหลากหลายเหล่านั้นเข้าสู่หลักสูตรได้อย่างไรโดยที่ยังเคารพดนตรีในเขตวัฒนธรรมดั้งเดิมที่โรงเรียนตั้งอยู่ การสอนดนตรีโลกเป็นการเปิดมุมมองด้านดนตรีและวัฒนธรรมที่หลากหลาย อีกทั้งยังเชื่อมโยงถึงวัฒนธรรมของมนุษย์และสังคม เนื่องจากดนตรีโลกมีการเรียนการสอนในหลายประเทศทั่วโลก ดังนั้นจึงเป็นแนวโน้มที่ควรนํามาพิจารณาในการพัฒนาครูและหลักสูตรประถมศึกษาของประเทศไทย การสอนดนตรีโลกมีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อให้ความสําคัญกับเนื้อหาและวิธีการสอนดนตรีในยุคโลกไร้พรมแดน 2) เพื่อตอบสนองต่อการเรียกร้องความรับผิดชอบทางสังคม ความหลากหลาย ความเสมอภาค และการอยู่ร่วมกัน 3) เพื่อเน้นให้ความรู้เกี่ยวกับหลักการทางวัฒนธรรมในการสืบสานและเรียนรู้ดนตรี 4) เพื่อเน้นยํ้ามุมมองความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมของศิลปิน ครู และผู้เรียน 5) เพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการฟังที่จะนําไปสู่การมีส่วนร่วมในการแสดง การสร้างสรรค์ และดนตรีที่เปรียบเสมือนพฤติกรรมของมนุษย์ที่มีความหมายทางวัฒนธรรม ดนตรีโลกมีขั้นตอนการสอน 5 ขั้นตอน คือ การฟังอย่างใส่ใจ การฟังอย่างมีส่วนร่วม การฟังเพื่อการเรียนรู้การสร้างสรรค์ดนตรีโลก และการบูรณาการดนตรีโลก)

Publisher

Faculty of Education, Chulalongkorn University

First Page

142

Last Page

163

Included in

Education Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.