•  
  •  
 

Abstract

This research aimed to study the effects of physical education learning managementin track applying Cippa model principle with motivation theory on physical fitness, skills, and attitude for healthy running of lower secondary school students. Samples included 90 students from the eighth grade of Wittayanukulnaree School in Phetchabun. Forty-four students were assigned to the experimental group to study under the physical education learning management in track applying Cippa model principle with motivation theory while the other 46 students in the control group were assigned to study with conventional teachingmethods. Researcher developed eight learning activity plans. The data were analyzed by using mean, standard deviation, and t-test.The research findings were as follows: 1) The mean scores of the physical fitness, skills and attitude for healthy running of the experimental group students after learning were significantly higher than before learning at a .05 level. 2) The mean scores of the physical fitness, skills and attitude for healthy running of the experimental group after learning were significantly higher than the control at a .05 level.(การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการจัดการเรียนรู้พลศึกษาในกรีฑาประเภทลู่โดยประยุกต์หลักการของรูปแบบซิปปาร่วมกับทฤษฎีแรงจูงใจที่มีต่อสมรรถภาพทางกาย ทักษะและเจตคติต่อการวิ่งเพื่อสุขภาพของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 90 คน โรงเรียนวิทยานุกูลนารี เพชรบูรณ์ แบ่งออกเป็นนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้พลศึกษาในกรีฑาประเภทลู่โดยประยุกต์หลักการของรูปแบบซิปปาร่วมกับทฤษฎีแรงจูงใจ 44 คน และ นักเรียนกลุ่มควบคุมที่ได้รับการจัดการเรียนรู้พลศึกษาในกรีฑาประเภทลู่แบบปกติ 46 คน ผู้วิจัยพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 8 แผน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย แบบวัดทักษะการวิ่งเพื่อสุขภาพ และแบบวัดเจตคติต่อการวิ่งเพื่อสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของคะแนนด้วยค่าทีผลการวิจัยพบว่า 1) ค่าเฉลี่ยของคะแนนสมรรถภาพทางกาย ทักษะและเจตคติต่อการวิ่งเพื่อสุขภาพหลังการทดลองของกลุ่มทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ค่าเฉลี่ยของคะแนนสมรรถภาพทางกาย ทักษะและเจตคติต่อการวิ่งเพื่อสุขภาพหลังการทดลองของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05)

Publisher

Faculty of Education, Chulalongkorn University

First Page

83

Last Page

102

Included in

Education Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.