Abstract
The objective of this descriptive research was to construct a conceptual frameworkand a model of support systems that enhance teachers? competencies in performance and personal learning process. There were 2 phases of study. Phase 1 involved a literature review, survey of stakeholders? attitudes and synthesis of the data to construct a conceptualframework and a model of the support systems. The research instruments consist of 1) the content analysis tables, 2) interview form for specialists and student teacher competency improvement, 3) specialists? questionnaire for components and processes of the system, 4) evaluation form for the confirmation of the system?s process, and 5) questionnaire for student teachers? needs analysis. The methods for analysis include 1) analysis of frequencyderiving from the content analysis table, 2) content synthesis from interviews, 3) Analysis of average, congruency of components and processes of the system, and 4) Analysis of evaluation point average for the confirmation of the component-process framework. Phase 2 involved the validation of the framework and the systems. Instrument consists of evaluationform to confirm the framework and the model of the system. The framework comprised: 1) competencies in curriculum and learning management, 2) a competency-based approach,3) an electronic performance support system, and 4) a personal learning environment (PLE)and PLE-driven learning process, and 5) on-the-job training through coaching. The analysis method includes 1) Analysis of evaluation on the IOC 2) Analysis of the point average evaluation to confirm framework and the model system. It was found that the framework and the systems comprised: 1) components and 2) processes. The components covered resources and results. The processes included those supporting the personnel performanceand students? learning processes.(การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากรอบแนวคิดและแบบจำลองระบบสนับสนุนการปฏิบัติงานและการเรียนรู้ส่วนบุคคลเพื่อพัฒนาสมรรถนะของผู้ประกอบวิชาชีพครู การดำเนินการวิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงบรรยาย มี 2 ระยะ ระยะที่ 1 เป็นการศึกษาวิจัยเอกสาร ความคิดเห็นของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย และสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อสร้างกรอบแนวคิดและแบบจำลองระบบ เครื่องมือวิจัย คือ (1) ตารางวิเคราะห์เนื้อหา(2) แบบสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านสมรรถนะการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ (3) แบบสอบถามผู้เชี่ยวชาญเพื่อการกำหนดองค์ประกอบและกระบวนการของระบบ(4) แบบประเมินเพื่อรับรององค์ประกอบและกระบวนการของระบบ และ 5) แบบสอบถามเพื่อประเมินความต้องการจำเป็นสำหรับนิสิต วิเคราะห์ข้อมูลโดย 1) วิเคราะห์ความถี่ จากตารางวิเคราะห์เนื้อหาเอกสาร2) สังเคราะห์เนื้อหาจากแบบสัมภาษณ์ 3) วิเคราะห์ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมขององค์ประกอบและกระบวนการของระบบ 4) วิเคราะห์ค่าเฉลี่ยคะแนนประเมินเพื่อรับรองกรอบแนวคิดขององค์ประกอบและกระบวนการของระบบ ระยะที่ 2 เป็นการรับรองกรอบแนวคิดและแบบจำลองระบบ เครื่องมือวิจัยคือ แบบประเมินเพื่อรับรองกรอบแนวคิดและแบบจำลองระบบโดยศึกษาแนวคิดทฤษฎีจากแหล่งข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูล โดยวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยคะแนนประเมินเพื่อรับรองกรอบแนวคิดและแบบจำลองของระบบผลการวิจัยพบว่ากรอบแนวคิดและแบบจำลองระบบประกอบด้วย 1) องค์ประกอบของระบบที่ประกอบด้วยทรัพยากรและผลลัพธ์ของระบบ และ 2) กระบวนการของระบบ)
Publisher
Faculty of Education, Chulalongkorn University
First Page
41
Last Page
62
Recommended Citation
Keereerat, Chayakan; Na-Songkhla, Jaitip; and Sujiva, Siridej
(2020)
"Synthesis Study of Model and Components of Electronic Performance and Personal Learning Support System to Enhance Competency of Teacher Professional(การศึกษาสังเคราะห์รูปแบบและองค์ประกอบของระบบสนับสนุนการปฏิบัติงานและการเรียนรู้ส่วนบุคคลเพื่อพัฒนาสมรรถนะของผู้ประกอบวิชาชีพครู),"
Journal of Education Studies: Vol. 48:
Iss.
1, Article 3.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/educujournal/vol48/iss1/3