Abstract
The research was aim to (1) study instructional supervision models affecting the change of teaching behavior of science teachers. (2) compare instructional supervision modelsaffecting the change of teaching behavior of science teachers. The samples used in this studywere science teacher at elementary level. The sample was 357 teachers who were randomlyassigned to the systematic random sampling. The research instruments were the questionnaireon the instructional supervision models affecting the change of teaching behavior of scienceteachers. Then the basic information of the sample and the instructional supervision modelswere applied. change of teaching behavior of science teachers. Frequency, percentage, mean,standard deviation and multiple regression analysis (MRA).The results of the study on the instructional supervision models affecting the change of teaching behavior of science teachers found that: (1) clinical supervision self-directed development and administrative monitoring were the variables affecting the changein teaching behavior of the science teachers. At the .05 level (2). compare instructional supervision models affecting the change of teaching behavior of science teachers. When the science teacher was supervised the clinical supervision (? = .45), followed by self-directed development (? = .22) and administrative monitoring (? = .15). and clinical supervision model affecting the change of teaching behavior of science teachers 1) the instructional planning (? = .45), 2) the use of teaching media (? = 41). 3) Instructional activities (? = .38) 4) Measurement and evaluation (? = .32) (การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษารูปแบบการนิเทศการสอนที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอนของครูวิทยาศาสตร์ (2) เปรียบเทียบรูปแบบการนิเทศการสอนที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอนของครูวิทยาศาสตร์ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ระดับชั้นประถมศึกษา ที่ได้รับเลื่อนวิทยฐานะเป็นครูชำนาญการพิเศษ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555-2560 จำนวน 3,328 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 357 คน ซึ่งใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ (systematic random sampling) เครื่องมือในการวิจัย คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับรูปแบบการนิเทศการสอนและพฤติกรรมการสอนของครูวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย ได้แก่ ความถี่ ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis: MRA)ผลการวิจัย พบว่า (1) รูปแบบการนิเทศการสอนแบบคลินิก รูปแบบการนิเทศการสอนแบบพึ่งตนเอง และรูปแบบการนิเทศการสอนโดยผู้บริหาร เป็นตัวแปรที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอนของครูวิทยาศาสตร์ในภาพรวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) ผลการเปรียบเทียบรูปแบบการนิเทศการสอนในภาพรวม พบว่า รูปแบบการนิเทศการสอนที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอนของครูวิทยาศาสตร์มากที่สุด คือ รูปแบบการนิเทศการสอนแบบคลินิก (? = .46) รองลงมา คือ รูปแบบการนิเทศการสอนแบบพึ่งตนเอง (? = .22) และรูปแบบการนิเทศการสอนโดยผู้บริหาร(? = .15) ตามลำดับโดยรูปแบบการนิเทศการสอนแบบคลินิกส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอนวิทยาศาสตร์ทั้ง 4 ด้าน ดังนี้ 1) ด้านการวางแผนการสอน (? = .45) 2) ด้านการใช้สื่อการสอน (? = .41) 3) ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน (? = .38) 4) ด้านการวัดและประเมินผล (? = .32))
Publisher
Faculty of Education, Chulalongkorn University
First Page
22
Last Page
40
Recommended Citation
Pimwapee, Komsan and Sudrung, Jurairat
(2020)
"Instructional Supervision Models Affecting the Change of Teaching Behaviors of Science Teachers (รูปแบบการนิเทศการสอนที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนพฤติกรรมการสอนของครูวิทยาศาสตร์),"
Journal of Education Studies: Vol. 48:
Iss.
1, Article 2.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/educujournal/vol48/iss1/2