•  
  •  
 

Abstract

The purpose of this research is to study the futures scenario of informationtechnology development of schools in Bangkok in the next decade. This study uses the EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research) methodology and includes expert interviews with 21 people. Data were anlayzed by percent, mean, and median. Interquartile Range were practiced in the data analysis. The focus group comprising 6 experts. The results of the research are as follows: 1) The curriculum should be developed according to the current and modern context via online learning. 2) The hardware/ softwareshould be allocated with efficiency and sufficient numbers such as computer and high-speed internet service. Software type and learning media should be online system that allow students to study and review the lessons by themselves. 3) Effectiveness andquality assurance should be achieved using an online system in order to manage, inspect, and evaluate all aspects according to the national education standards. 4) The style of teaching and learning should support teachers to produce any online media and students should be able to access the content by using their own communication equipment. 5) Organization management should have the center of educational information services that offer current and accurate information including the teachers? training in relating knowledge and technology use.(การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอนาคตภาพการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครในทศวรรษหน้า ใช้วิธีการศึกษาระเบียบวิธี EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research) การรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ 21 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ และจัดสนทนากลุ่มผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 6 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) ด้านหลักสูตร ควรมีการพัฒนาให้สอดคล้องกับบริบทสภาวะปัจจุบันมีความทันสมัย เป็นรูปแบบออนไลน์ 2) ด้านฮาร์ดแวร์/ซอฟต์แวร์ มีการจัดสรรงบประมาณให้มีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพและจำนวนเพียงพอ มีระบบอินเทอร์เน็ตสัญญาน ความเร็วสูงที่ได้มาตรฐาน รูปแบบของ ซอฟต์แวร์ ตลอดจนสื่อที่ใช้สำหรับสอนนักเรียน ควรเป็นแบบออนไลน์ที่ผู้เรียนสามารถเข้าไปศึกษาเนื้อหา ทบทวนบทเรียนด้วยตนเอง 3) ด้านประสิทธิผลและประกันคุณภาพ ควรเป็นระบบออนไลน์ สามารถบริหารจัดการคุณภาพ ตรวจสอบ ประเมินผลได้อย่างมีคุณภาพ ตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา 4) ด้านรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ส่งเสริมครูผลิตสื่อใช้ในการสอนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต นักเรียนสามารถเข้าไปศึกษาเนื้อหาบทเรียนด้วยตนเอง ผ่านทางอุปกรณ์สื่อสารทุกชนิด 5) ด้านการบริหารจัดการ มีศูนย์กลางบริการข้อมูลทางการศึกษา ที่เป็นปัจจุบัน ถูกต้อง รวดเร็ว รวมทั้งอบรมครูให้มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี)

Publisher

Faculty of Education, Chulalongkorn University

First Page

353

Last Page

369

Included in

Education Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.