Abstract
The purposes of this experimental research were to study the analytical thinking of teacher students at Faculty of Education, Rajabhat Universities and create and study the effects of using the analytical thinking Enhancement Model to enhance Teacher Students of Faculty of Education, Rajabhat Universities through Knowledge Management Learning. There were 2 phases of research: Phases I: study the analytical thinking of 320 student teachers. The analytical thinking ability were investigated by the analytical thinking test. Phase II: Create the learning plan to enhance analytical thinking for student teachers. The samples in phase II were students in Chandrakasem Rajabhat University. The experimental plan was The Posttest-only Nonequivalent Control Groups Design. Research tool was an analytical thinking test. Data were analyzed by using percentage, average, standard deviation, and t-test. The research results found that all 3 aspects of analytical thinking ability of student teachers mean scores were below the set criteria (65%) at the 0.01 level of significant. The developed Model consisted of 2 parts: 1) knowledge management learning activities consisted of 4 steps which were identifying the problems, planning, co-creating, and applying knowledge, 2) analytical thinking enhancement activities consisted of 2 steps which were preparing and organizing activities. After the experiment, the average score of analytical thinking abilities of the experimental group was higher than the control group both in overall and separate part which the significant at the 0.01 level.(การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏ และสร้างและศึกษาผลการใช้รูปแบบการเสริมสร้างความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏ ด้วยการเรียนรู้แบบการจัดการความรู้ การวิจัยแบ่งเป็นระยะที่ 1 ศึกษาความสามารถในการวิเคราะห์ของนักศึกษาครู กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 320 คน เครื่องมือวิจัย คือ แบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ระยะที่ 2 การวิจัยเชิงทดลอง ใช้แบบแผนการทดลองแบบ posttest-only nonequivalentcontrol groups design กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม เครื่องมือวิจัย คือ แบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า ค่าเฉลี่ยความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของกลุ่มตัวอย่างต่ำกว่าเกณฑ์ทั้ง 3 ด้าน (65%) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 รูปแบบที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 การจัดกิจกรรมเรียนรู้แบบการจัดการความรู้มี 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การกำหนดปัญหา/สิ่งที่ต้องเรียนรู้2) การวางแผนการเรียนรู้ 3) การสร้างความรู้ร่วมกัน 4) การนำเสนอและการนำความรู้ไปใช้ และส่วนที่ 2 การจัดกิจกรรมเสริมสร้างความสามารถในการคิดวิเคราะห์ มี 2 ขั้นตอน คือ การเตรียมความพร้อม และการเสริมสร้างความสามารถในการคิดวิเคราะห์ หลังทดลอง กลุ่มทดลองมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01)
Publisher
Faculty of Education, Chulalongkorn University
First Page
295
Last Page
310
Recommended Citation
Jaruariyanon, Wilawan
(2020)
"The Development of the Analytical Thinking Ability Enhancement Model to Enhance Teacher Students, Faculty of Education, Rajabhat Universities through Knowledge Management Learning(การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษาครูคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ด้วยการเรียนรู้แบบการจัดการความรู้),"
Journal of Education Studies: Vol. 48:
Iss.
1, Article 16.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/educujournal/vol48/iss1/16