Abstract
The three objectives of Participatory System in Area-Based Management in Education were to: 1) study and compare autonomous school models in different countries,2) analyze lessons learned from case studies in Thailand that use autonomous school models in administration and management, and 3) propose development strategies of education management in the education system and enhance participation. This research used a mixed method research design consisting of documentary research, interview,focus group and survey research. The results based on the objectives can be described as follows: 1. The models of autonomous school are different in each country; 2. schools that use autonomous school models are under the same laws and regulations but differ in implementation and all faced various obstacles; and 3. the development strategies of education management in the education system to enhance participation are comprised of six main strategies, 15 secondary strategies and 49 measures. Success factors are divided into 2 parts: external factors and internal factors. There are several cooperation models of area-based management in education such as the readiness model, network model, area-based model, partnership model and autonomous model.(การวิจัยเรื่องระบบการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบของโรงเรียนอัตตโนภิวัตน์ในประเทศต่าง ๆ 2) ถอดบทเรียนกรณีศึกษาโรงเรียนในประเทศไทยที่มีการใช้รูปแบบของโรงเรียนอัตตโนภิวัตน์ในการบริหารจัดการศึกษา และ 3) นำเสนอยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาและสร้างการมีส่วนร่วม การวิจัยครั้งนี้ใช้การวิจัยแบบผสานวิธีเก็บข้อมูลจากเอกสาร การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม และการสำรวจ ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบของโรงเรียนอัตตโนภิวัตน์ในการบริหารจัดการศึกษาในประเทศต่าง ๆ มีความแตกต่างกัน 2) โรงเรียนในประเทศไทยที่มีการใช้รูปแบบของโรงเรียนอัตตโนภิวัตน์ พบว่า แม้อยู่ภายใต้กฎระเบียบเดียวกัน แต่ในทางปฏิบัติยังมีความแตกต่างกันและยังเผชิญกับข้อจำกัดหลายประการ และ 3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาและสร้างการมีส่วนร่วม ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์หลัก 15 ยุทธศาสตร์รอง และ 49 มาตรการ ปัจจัยความสำเร็จ แบ่งเป็นปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน รูปแบบความร่วมมือในการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่ของโรงเรียนอัตตโนภิวัตน์มีหลายรูปแบบ ได้แก่ รูปแบบความร่วมมือตามความพร้อมรูปแบบความร่วมมือแบบเครือข่าย รูปแบบความร่วมมือแบบยึดพื้นที่เป็นที่ตั้ง รูปแบบความร่วมมือแบบหุ้นส่วน และรูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาในกำกับ)
Publisher
Faculty of Education, Chulalongkorn University
First Page
276
Last Page
294
Recommended Citation
Preededilok, Fuangarun; Bangchuad, Doungkamol; and Rukspollmuang, Chanita
(2020)
"Development of System Management and Participatory in Autonomous School(การพัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาและสร้างการมีส่วนร่วมสำหรับโรงเรียนอัตตโนภิวัฒน์),"
Journal of Education Studies: Vol. 48:
Iss.
1, Article 15.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/educujournal/vol48/iss1/15