Abstract
This research aims to 1) make a comparison of genetic problem solving abilities among examinees with different ability levels who receive different types of feedback, and 2) study the interaction of examinee ability levels and types of feedback with genetic problem solving ability. Examinees were 786 12th grade students in the first semesterof the 2017 academic year (May 2017?September 2017) from 7 schools in the Bangkok educational service area, Thailand. The result showed that 1) the sample could bedivided into three levels: the excellent group, which had the highest measured abilitylevel (M = 6.80, SD = 1.054), the moderate group (M = 5.43, SD = 1.285), and poor group(M = 2.35, SD = 2.033), and 2) the examinees? ability levels and types of feedbackinteract with examinees? genetic problem solving abilities (F =5.891, Sig = 0.000).All 3 groups (excellent, moderate, and poor) exhibited higher genetic problem solving abilities when provided with the 5 types of feedback, at a statistical significance level of .05.(การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบคะแนนความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางด้านพันธุศาสตร์ของผู้สอบจําแนกตามระดับความสามารถของผู้สอบและรูปแบบของข้อมูลย้อนกลับที่แตกต่างกัน 2) ศึกษาปฏิสัมพันธืระหว่างระดับความสามารถของผู้สอบและรูปแบบข้อมูลย้อนกลับที่มีผลต่อความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางด้านพันธุศาสตร์ ตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จากโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร ในประเทศไทย 7 โรงเรียน คิดเป็นนักเรียน 786 คน ผลการวิจัยพบว่า ผู้สอบในกลุ่มสูงมีค่าเฉลี่ยความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาฯ สูงที่สุด (M = 6.80, SD = 1.054) รองลงมา คือ กลุ่มปานกลางมีค่าเฉลี่ยความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาในระดับปานกลาง (M = 5.43, SD = 1.258) และกลุ่มตํ่าที่มีค่าเฉลี่ยความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาตํ่าที่สุด (M = 2.35, SD = 2.033) 2) ความสามารถของผู้เรียน (Group) และรูปแบบข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) มีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันต่อความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาฯหลังการได้รับข้อมูลย้อนกลับ (F = 5.891, Sig. = 0.000) โดย ผู้สอบที่มีระดับความสามารถแตกต่างกันทั้ง 3 กลุ่ม (สูง ปานกลาง และตํ่า) ที่ได้รับข้อมูลย้อนกลับแตกต่างกันทั้ง 5 รูปแบบ มีค่าเฉลี่ยความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาฯแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05)
Publisher
Faculty of Education, Chulalongkorn University
First Page
145
Last Page
163
Recommended Citation
Masantiah, Chuthaphon
(2019)
"A Comparison of Genetic Problem Solving Abilities among Examinees with Different Ability Levels in a Computer-Based Testing System with Immediate Feedback: An Application of the RISE Model(การเปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางด้านพันธุศาสตร์ระหว่างผู้สอบที่มีความสามารถแตกต่างกันในการทดสอบที่มีการให้ข้อมูลย้อนกลับทันทีโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์: การประยุกต์ใช้ RISE Model),"
Journal of Education Studies: Vol. 47:
Iss.
4, Article 8.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/educujournal/vol47/iss4/8