Abstract
The objectives of this survey research were: 1) to study the young children?s characteristics which lead to the democratic skills development and 2) to study theways to develop the democratic skills in the school. The 207 samples composed of administrators, kindergarten teachers, lecturers and students from the early childhood education program were asked to complete the questionnaires. The frequency, percentage, means and standard deviation were used to analyze the data.The results indicated that: 1) the importance of the democratic characteristics leading to democratic skills were found at the high and the highest levels; the first important characteristic is the respect of one?s own right and the others, the second is the respect of the agreement, rules and regulations as well as participating in group working and learning from the group. 2) The proposed guidelines to develop the democratic skills in the school were ranked at the highest level of appropriateness. The first most appropriate one is integrating through play and direct experience from hand-on activitiesin order to help children to understand and absorb the skills. The other way is the cultivation of ethics, consciousness and self-discipline in daily activities depending on occasions and ages, allowing young children to think together and to give a reasonable explanation in making agreements in the classroom and respecting the agreements,rules and regulations.(งานวิจัยเชิงสํารวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาคุณลักษณะของเด็กป ฐมวัยที่นําไปสู่การพัฒนาทักษะประชาธิปไตย และ 2) ศึกษาแนวทางในการพัฒนาทักษะประชาธิปไตยของสถานศึกษาปฐมวัย ตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหาร ครูประจําชั้นระดับอนุบาล อาจารย์และนักศึกษา สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย จํานวน207 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) คุณลักษณะของเด็กปฐมวัยที่นําไปสู่การพัฒนาทักษะประชาธิปไตยแต่ละข้อมีความสําคัญอยู่ในระดับมากและมากที่สุด คุณลักษณะที่มีความสําคัญอันดับแรก คือ เคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น รองลงมา คือ เคารพข้อตกลง กฎ กติกา และมีส่วนร่วมในการทํางานกับกลุ่มและเรียนรู้จากกลุ่ม 2) แนวทางในการพัฒนาทักษะประชาธิปไตยให้แก่เด็กปฐมวัยในสถานศึกษามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุดทุกข้อ อันดับแรก คือ บูรณาการผ่านการเล่นและลงมือกระทําจากประสบการณ์ตรงให้เกิดความเข้าใจและได้ซึมซับทักษะประชาธิปไตย รองลงมา คือ ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม จิตสํานึก และวินัยในตนเองในทุกกิจกรรมประจําวันตามโอกาสและเหมาะกับวัย และให้เด็กร่วมกันคิด ใช้เหตุผลตามวัยในการกําหนดข้อตกลงในห้องเรียน และการเคารพข้อตกลง กฎ กติกา)
Publisher
Faculty of Education, Chulalongkorn University
First Page
124
Last Page
144
Recommended Citation
Bhulpat, Cheerapan and Rodpuang, Jiraporn
(2019)
"Democratic Skill Development for Young Children: A Survey Research(การพัฒนาทักษะประชาธิปไตยสําหรับเด็กปฐมวัย: การวิจัยเชิงสํารวจ),"
Journal of Education Studies: Vol. 47:
Iss.
4, Article 7.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/educujournal/vol47/iss4/7