Abstract
The objectives of this research were 1) to develop instructional process basedonmathematical modeling and scaffolding approaches and 2) to study the quality of instructional process based on mathematical modeling and scaffolding approaches.The target group were 7th to 9th graders in demonstration schools under the Office of the Higher Education Commission (OHEC) within Bangkok. Samples composed of 64 Mathayom 2 (the 8th grade) students from Chulalongkorn University Demonstration School: 32 inthe experimental group and 32 in the control group. The experimental time were 24 periods of class in 12 weeks. There are 2 stages in the process, namely 1) development of instructional process based onmathematical modeling and scaffolding approaches2) experiment of the teaching process. Research tools were the mathematical problem solving ability test and the mathematical representation ability test. Data were analysis by using arithmetic mean, standard deviation and t-test. The findings were as follows:1. The developed instructional process comprised of 5 steps: 1) proposingproblems of interest, 2) determining the target and creating mathematical modeling,3) solving the problem and referring the results to the real world environment, 4) evaluating the model and verifying the model, 5) extending the idea to new situations. 2. After the experiment, the experimental group had higher problem solvingability and mathematical representation ability than those of the control group at .05 significant level.(การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนากระบวนการเรียนการสอนตามแนวคิดการสร้างแบบจําลองทางคณิตศาสตร์และแนวคิดการเสริมต่อการเรียนรู้ และ 2) ศึกษาคุณภาพกระบวนการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม จํานวน 64 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 32 คนและกลุ่มควบคุม 32 คนใช้เวลาในการทดลอง 24 คาบเป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ ขั้นตอนการดําเนินการวิจัย แบ่งเป็น 2 ขั้นตอน คือ 1) การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนตามแนวคิดการสร้างแบบจําลองทางคณิตศาสตร์และแนวคิดการเสริมต่อการเรียนรู้ 2) การทดลองใช้กระบวนการเรียนการสอนเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และแบบทดสอบวัดความสามารถในการใช้ตัวแทนทางคณิตศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า1. กระบวนการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ 1) การนําเสนอปัญหาเพื่อสร้างความสนใจ 2) การกําหนดเป้าหมายและการสร้างแบบจําลอง 3) การดําเนินการแก้ปัญหาและอ้างอิง ผลลัพธ์สู่บริบทในโลกแห่งความจริง 4) การประเมินแบบจําลองและการตรวจสอบความถูกต้องของแบบจําลอง 5) การขยายความคิดสู่สถานการณ์ใหม่ 2. หลังการทดลอง นักเรียนกลุ่มทดลองมีความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และมีความสามารถในการใช้ตัวแทนทางคณิตศาสตร์ สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05)
Publisher
Faculty of Education, Chulalongkorn University
First Page
86
Last Page
107
Recommended Citation
Pluempitiwiriyawej, Kulnida and Makanong, Aumporn
(2019)
"Development of an Instructional Process Based on Mathematical Modeling and Scaffolding Approaches to Enhance Mathematical Problem Solving and Representation Abilities of Lower Secondary School Students(การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนตามแนวคิดการสร้างแบบจําลองทางคณิตศาสตร์และแนวคิดการเสริมต่อการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาและการใช้ตัวแทนทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น),"
Journal of Education Studies: Vol. 47:
Iss.
4, Article 5.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/educujournal/vol47/iss4/5