•  
  •  
 

Abstract

The aim of this research and development was to develop an activity model forthe enhancement of nursing students? self-efficacy in performing an educationalintervention to promote health of community-dwelling older. The research process consisted of four steps: the first step was to study baseline data, related concepts and theories, problems and requirements regarding the Nursing Practicum course for health promotion and prevention as well as nursing students? views on this practicum course. The second step was to develop an activity model, and the third step was to implement the activity model. The fourth step was to evaluate and improve the activity model.The results of the research revealed that the developed model consisted of 6 components, including (1) the principle of the activity model (2) Goal of the activity model (3) Objective of the activity model (4) Contents (5) Implementing of learning activities and (6) Measurement and evaluation. The developed model was examined by experts with the IOC value of 0.88. The effectiveness of the developed model was evaluated, and the results showed that the mean post-test knowledge score was significantly higher than the mean pre-test score. The students? mean self-efficacy scorein performing an educational intervention to promote health of community-dwellingolder adults increased significantly from pre-test to the end-of-course test. Eighty percent of sample had high level of skills in providing patient education and health promotion activities. The students ?satisfaction toward the developed model was at the high level. In addition, the elderly?s satisfaction toward the teaching skills of nursing students was at the high level.(การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบกิจกรรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของนักศึกษาพยาบาลในการให้ความรู้เพื่อสร้างเสริมสุขภาพแก่ผู้สูงอายุในชุมชน เป็นการวิจัยและพัฒนา(Research and Development) ดําเนินการ 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการของนักศึกษาพยาบาลเกี่ยวกับการฝึกปฏิบัติในรายวิชาสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันการเจ็บป่วย ขั้นที่ 2 พัฒนารูปแบบกิจกรรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของนักศึกษาพยาบาลในการให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุในชุมชน ขั้นที่ 3 ทดลองใช้รูปแบบกิจกรรมฯ และ ขั้นที่ 4 การประเมินผลรูปแบบกิจกรรมฯ ผลการวิจัยพบว่ารูปแบบกิจกรรมที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการของรูปแบบกิจกรรม 2) เป้าหมาย 3) วัตถุประสงค์ของรูปแบบกิจกรรม 4) เนื้อหาสาระ 5) วิธีการดําเนินกิจกรรม และ 6) การวัดและประเมินผล โดยรูปแบบกิจกรรมที่พัฒนาขึ้นผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาได้ค่าดัชนีความสอดคล้องโดยรวม เท่ากับ 0.88 ในด้านประสิทธิผลของรูปแบบกิจกรรมฯ พบว่า นักศึกษามีคะแนนเฉลี่ยความรู้หลังเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้น และมีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการให้ความรู้เพื่อสร้างเสริมสุขภาพแก่ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นตามระยะเวลาที่ศึกษาอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ นักศึกษา (ร้อยละ 80) มีทักษะการปฏิบัติที่ถูกต้องในการให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุในระดับมาก และมีความพึงพอใจต่อรูปแบบกิจกรรมที่พัฒนาขึ้นในระดับมาก นอกจากนี้พบว่า ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจต่อการให้ความรู้ของนักศึกษาในระดับมาก)

Publisher

Faculty of Education, Chulalongkorn University

First Page

386

Last Page

406

Included in

Education Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.