•  
  •  
 

Abstract

The objective of this research was to analyze the conditions and problemsfaced by youth and their needs for lifelong learning resources in the areas surrounding Chulalongkorn University. The participants of this study were 400 youths who have used the services of lifelong learning resources offered in the areas surrounding Chulalongkorn University, including libraries, museums, the science and technology park, art galleries,the sports and recreation center, and public parks. The research instrument used was a questionnaire. Data were analyzed by percentage, mean and standard deviation. The results of this study indicated that self-learning was the most popularlearning technique (59.58%) and activity (45.59%) associated with the available lifelong learning resources. In terms of the problems associated with the use of services available from these learning resources, the participants reported that they faced the problem of insufficient learning equipment, with a high mean score (M = 3.58). In terms of theneeds for the services available from learning resources, the questionnaire respondents indicated the need for proper location arrangement, with a high mean score (M = 4.05). As a result of these findings, the researcher developed guidelines for managingthe relevant learning resources, which consisted of five aspects; namely, activity content, learning resources, location, management, and promotion of lifelong learning. These guidelines should prove valuable for stakeholders in both public and private sectorsfor developing and managing learning resources that meet youth needs and interests.(การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพ ปัญหา และความต้องการการบริการของเยาวชนในการใช้แหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตในพื้นที่รอบจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยเป็นเยาวชนที่เข้าใช้แหล่งเรียนรู้ในพื้นที่รอบจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้แก่ ห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หอศิลป์ ศูนย์การกีฬาและนันทนาการ และสวนสาธารณะ จํานวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามแบบเลือกตอบและแบบประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่าสภาพการใช้บริการของแหล่งเรียนรู้เยาวชนเลือกใช้วิธีการเรียนรู้ด้วยตนเองมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 59.58 ปัญหาการบริการของแหล่งการเรียนรู้พบว่าเยาวชนมีปัญหาในเรื่องอุปกรณ์ใช้สอยไม่เพียงพอต่อผู้ใช้บริการในการใช้แหล่งเรียนรู้อยูในระดับมาก (M = 3.58) ความต้องการการบริการของแหล่งเรียนรู้พบว่าเยาวชนมีความต้องการในเรื่องการจัดเตรียมสถานที่ให้บริการของแหล่งการเรียนรู้อยู่ในระดับมาก (M = 4.05) จากนั้นนําผลที่ได้พัฒนาเป็นแนวทางในการจัดแหล่งเรียนรู้ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ เนื้อหากิจกรรม ทรัพยากรการเรียนรู้ สถานที่ การบริหารจัดการ และส่งเสริมการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ซึ่งแนวทางในการจัดแหล่งเรียนรู้สามารถนําไปใช้เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้และจัดแหล่งเรียนรู้ให้สอดคล้องตามความต้องการและความสนใจของเยาวชนมากขึ้น)

Publisher

Faculty of Education, Chulalongkorn University

First Page

289

Last Page

307

Included in

Education Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.