•  
  •  
 

Abstract

This research aimed to develop and study the effectiveness of an instructional process based on authentic learning and systematic thinking approaches to enhancethe mathematics problem solving ability of lower secondary school students. This study consisted of research and development. The research can be divided into 2 phases;the first phase was the instructional development based on authentic learning and a systematic thinking approach, and the second phase was the instructional experiment. The sample group included 80 students in Matthayom 3 categorized into an experimental group and a control group, both with 40 students each. The tool for data collection was an evaluation form for mathematics problem solving ability set 1 and set 2. The results of the research were as follows: 1) The instructional process developement consisted of 6 steps: identifying problems or real-life situations, studying the data of a given situation or problem, executing and solving the problem using a group process, discussing and exchanging knowledge, setting a general conclusion style, and applying and expanding on the knowledge. 2) The experimental group demonstrated a greater mathematics problem solving ability than the control group at a 0.05 significance level.(การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาประสิทธิผลของกระบวนการเรียนการสอนตามแนวคิดการเรียนรู้ตามสภาพจริงและการคิดเชิงระบบ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา การดําเนินการวิจัยสามารถแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะแรกเป็นการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนตามแนวคิดการเรียนรู้ตามสภาพจริงและการคิดเชิงระบบ และระยะที่ 2 เป็นการทดลองใช้กระบวนการเรียนการสอน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จํานวน 80 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 40 คน และกลุ่มควบคุม 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบวัดความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่า 1) กระบวนการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นกําหนดปัญหาหรือสถานการณืในชีวิตจริง ขั้นศึกษาข้อมูลของสถานการณ์หรือปัญหากําหนดให้ ขั้นลงมือปฏิบัติและแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการกลุ่ม ขั้นอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ขั้นหาข้อสรุปทั่วไปที่เป็นแบบแผน และขั้นประยุกต์และขยายองค์ความรู้ 2) กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ หลังการทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05)

Publisher

Faculty of Education, Chulalongkorn University

First Page

1

Last Page

21

Included in

Education Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.