Abstract
The objectives of this study were 1) to develop indicators of living together with care in urban communities and 2) to verify the validity of the model of living togetherwith care in urban communities. The participants were 5,807 people in 24 districts of Bangkok. The instrument used was questionnaire. The data were analysed by frequency, percentages and confirmatory factor analysis.Results of this research were as follows: 1) The indicators of living together with care in urban communities consisted of 3 main factors, 8 minor factors and 50 indicators. The first main factor is ?body?, which consists of 6 indicators of sacrifice, 5 indicatorsof respect for social rules, and 5 indicators of mutual recognition. The second mainfactor, ?speech?, consists of 5 indicators of propriety and 6 indicators of creativity.?Mind?, the third main factor, consists of 7 indicators of positive attitude towardsdifferences between individuals, 8 indicators of goodwill towards others, and 8 indicators of maintain their own goodness. 2) The results of second confirmatory factor analysiswith the use of LISREL program showed that the model fitted the empirical data. The construct validity of models was consistent with empirical data with chi-square = 1344.94, p-value = 0.16, Goodness of Fit Index (GFI) = 0.85, Adjusted Goodness of Fit Index(AGFI) = 0.81 and Root Mean Square Error of Approximation (RMSEA) = 0.08.(การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาตัวบ่งชี้การอยู่ร่วมกันอย่างเกื้อกูลในชุมชนเมือง และ 2) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลการอยู่ร่วมกันอย่างเกื้อกูลในชุมชนเมืองกับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยจํานวน 297 ชุมชน ใน 24 เขตของกรุงเทพมหานคร จํานวนทั้งสิ้น 5,807 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ และร้อยละ และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันผลการวิจัยพบว่า 1) ตัวบ่งชี้การอยู่ร่วมกันอย่างเกื้อกูลในชุมชนเมือง ประกอบด้วย ด้านกาย ได้แก่ การเสียสละ 6 ตัวบ่งชี้ การเคารพกติกาสังคม 5 ตัวบ่งชี้ และการยอมรับซึ่งกันและกัน 5 ตัวบ่งชี้ ด้านวาจา ได้แก่ การพูดถูกกาลเทศะ 5 ตัวบ่งชี้ และการพูดสร้างสรรค์ 6 ตัวบ่งชี้ และด้านใจ ได้แก่ การทัศนคติที่ดีต่อความแตกต่างระหว่างของบุคคล จํานวน 7 ตัวบ่งชี้ การปรารถนาดีต่อผู้อื่น 8 ตัวบ่งชี้ และการรักษาความดีของตัวเอง จํานวน 8 ตัวบ่งชี้ รวมทั้งสิ้น 50 ตัวบ่งชี้ และ 2)ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง (Second order confirmatory factor analysis) พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์พิจารณาได้จากค่าไคสแควร์ (Chi-square) มีค่าเท่ากับ 1344.94 ค่าความน่าจะเป็น เท่ากับ 0.16 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน เท่ากับ 0.85 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว เท่ากับ 0.81 และค่าความคลาดเคลื่อน เท่ากับ 0.08)
Publisher
Faculty of Education, Chulalongkorn University
First Page
46
Last Page
63
Recommended Citation
Sribuawnarm, Kittikantaphong
(2019)
"A Development of Indicators of Living Together with Care in Urban Communities(การพัฒนาตัวบ่งชี้การอยู่ร่วมกันอย่างเกื้อกูลในชุมชนเมือง),"
Journal of Education Studies: Vol. 47:
Iss.
3, Article 3.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/educujournal/vol47/iss3/3