•  
  •  
 

Abstract

Public Consciousness is a crucial characteristic for an individual to demonstrate their responsibility to the community. Military conscripts are an important person in the Army. This study is aimed at developing a training model to enhance public consciousness of the in-service military conscripts by using adult learning and service learning. Total of 30 participants in the study were in-service military conscripts of 2nd Infantry Battalion 4thInfantry Regiment who remain their positions in the military not exceeding 6 months atthe time of study. Results suggested that the training model to enhance public consciousness of in-service military conscripts was inclusive of 7 steps. 1) The preparation of in-service military conscripts 2) Provide in-service military conscripts with skills incommunity collaboration 3) Establish learning objectives 4) Prepare in-service military conscripts with the skills prior to the practice 5) Practical experience 6) Cognitivereflection and 7) Evaluation. Moreover, the result suggested that in-service military conscripts have increased their public consciousness after completing the trainingmodel to enhance public consciousness (26.6%). By in-service military conscripts developing their public consciousness characteristics, they will become a sustainable community service provider, a service which benefit the entire nation.(จิตสํานึกสาธารณะเป็นคุณลักษณะสําคัญทําให้บุคคลสามารถขับเคลื่อนความรับผิดชอบต่อสังคมได้อย่างสมบูรณ์ ทหารกองประจําการเป็นกําลังพลที่สําคัญของกองทัพ ดังนั้น การวิจัยในครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างจิตสํานึกสาธารณะของทหารกองประจําการ โดยใช้แนวคิดการเรียนรู้ผู้ใหญ่และการเรียนรู้โดยการรับใช้สังคม โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มทหารกองประจําการที่ผ่านการฝึกอบรมและมีเวลาราชการเหลือกาอนปลดประจําการมาเกิน 6 เดือน จากหน่วยกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 4 ที่เข่าร่วมการฝึกอบรม จํานวน 30 นาย ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างจิตสํานึกสาธารณะของทหารกองประจําการ ประกอบด้วย 1) การเตรียมความพร้อม 2) ความร่วมมือกับชุมชน 3) การสร้างวัตถุประสงค์การเรียนรู้ 4) การเตรียมความพร้อมก่อนให้บริการชุมชน 5) การให้บริการชุมชน 6) การสะท้อนคิด และ 7) การประเมินผล ส่วนผลของระดับจิตสํานึกสาธารณะของทหารกองประจําการ พบว่า ทหารกองประจําการมีระดับจิตสํานึกสาธารณะเพิ่มขึ้น ภายหลังที่ได้รับการฝึกอบรม โดยจํานวนกลุ่มตัวอย่างที่มีจิตสํานึกสาธารณะด้านการคํานึงถึงประโยชน์ของสังคมเพิ่มขึ้นร้อยละ 26.6 ทั้งนี้รูปแบบการฝึกอบรมที่พัฒนาขึ้น สามารถนําไปสู่การพัฒนาจิตสํานึกสาธารณะของทหารกองประจําการได้ ซึ่งสามารถช่วยเหลือชุมชน สังคม และประเทศชาติได้อย่างยั่งยืน)

Publisher

Faculty of Education, Chulalongkorn University

First Page

475

Last Page

495

Included in

Education Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.