Abstract
Flipped classroom learning is now famous as widely accepted for application in teaching for various subjects and levels in diverse areas. Learning through this techniqueis helpful for learners to become part of the learning process as they have choices to discover and present knowledge from outside the classroom. It could be argued thatthis type of learning gives more meaning. It also allows teacher students to develop their skills through various techniques that enhance their confidence and ready them for future teaching.The aim of this article is to present the application of flipped classroom learning for Early Childhood student teachers and integrate it with coaching strategies, teaching strategies, reflecting strategies, and the lesson plan objectives. The four steps of thislearning are as follows: 1) introduction, 2) preparation, 3) presentation in which students practice skills in conveying various knowledge, lecturing, demonstrating, and role playing, and 4) discussion. Although teacher students may be satisfied with flipped classroom learning, but may still not be accustomed to it. Thus, the teacher?s role is still important as a supporter and advisor for their students.(ปัจจุบันการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับทางเป็นที่นิยมยอมรับในวงกว้าง มีการวิจัยนําไปประยุกต์ใช้สอนตามศาสตร์ต่าง ๆ และในระดับชั้นที่หลากหลาย เนื่องจากการสอนแบบห้องเรียนกลับทางช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ช่วยให้มีอิสระในการสืบค้นและได้รับข้อมูลที่หลากหลายตามความสนใจนอกเหนือจากตําราในชั้นเรียน และสําหรับในส่วนของศาสตร์การสอน การเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับทางมีความสําคัญมากกว่านั้น เนื่องจากในกระบวนการการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับทางช่วยให้นักศึกษาวิชาชีพครูได้ฝึกทักษะการสอนผ่านการถ่ายทอดความรู้ หรือข้อมูลต่าง ๆ ด้วยวิธีที่หลากหลาย สร้างความมั่นใจในการสอนเพื่อเตรียมพร้อมในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู และการสอนในอนาคตบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนําเสนอการประยุกต์ใช้การเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับทางสําหรับนักศึกษา วิชาชีพครู โดยบูรณาการกับหลักการให้คําแนะนํา หลักการสอน และหลักการสะท้อนการเรียนรู้ ร่วมกับเนื้อหาของรายวิชา การเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับทางในบทความนี้ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นรับการแนะนํา 2) ขั้นเตรียมการ 3) ขั้นนําเสนอ ผ่านการถ่ายทอดความรู้ที่หลากหลาย ได้แก่ การบรรยาย การสาธิต และการแสดงบทบาทสมมติ และ 4) ขั้นอภิปรายการเรียนรู้ โดยภาพรวมผู้เรียนมีความพึงพอใจต้อการเรียนรู้รูปแบบนี้แต่หากยังไม่คุ้นชินต่อการปรับเปลี่ยนวิธีเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนควรคอยให้คําแนะนําและคําปรึกษาแก่นักศึกษาอย่างเหมาะสม)
Publisher
Faculty of Education, Chulalongkorn University
First Page
404
Last Page
421
Recommended Citation
Sathiraphan, Wanlapa and Laorpaksa, Patcharat
(2019)
"The Application of Flipped Classroom Learning for Developing Teaching Readiness of Early Childhood Student Teachers(การประยุกต์ใช้การเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับทางเพื่อพัฒนาความพร้อมในการสอนของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย),"
Journal of Education Studies: Vol. 47:
Iss.
3, Article 22.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/educujournal/vol47/iss3/22