•  
  •  
 

Abstract

The research objectives were 1) to design experience learning plan throughscience, technology, and society learning process arrangement, 2) to study the outcome of early childhood children?s analytical thinking through science, technology, and society learning process, and 3) to study early childhood children?s science learning throughscience, technology, and society learning process. The target group used in this research was 35 young children, who were purposively selected, in the class of Kindergarten 2/8 academic year 2016 at Anuban Chiang Mai School. The researcher sets passedcriteria evaluation at 70.00%.The results found that: 1) new science, technology, and society experiencelesson plans were created; and 2) the target group, who learned through science, technology, and society experience lesson plans, received the mean score at 92.85% which was higher than the set criteria of 70.00%. Overall, they had got mean scores of critical thinking higher than the set criteria, which grouping was the most rated (100%), following with estimating (96.71%), correlating (91.42%), comparing (89.28%), andsurveying (87.86%) respectively; and 3) the target group who learned through science, technology, and society experience lesson plans earned the mean scores of sciencelearning at 93.14 % which was higher than the set criteria of 70.00%.(การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อสร้างแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้การจัดกระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม 2) เพื่อศึกษาผลการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย โดยใช้การจัดกระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม 3) เพื่อศึกษาผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้การจัดกระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม และกล่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนระดับชั้นอนุบาล 2/8 โรงเรียนอนุบาลเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ จํานวน 35 คนซึ่งได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง ซึ่งผู้วิจัยกําหนดเกณฑ์คะแนนการผ่านร้อยละ 70.00ผลการวิจัย พบว่า: 1. ได้แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้การจัดกระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม 2. ผลการคิดวิเคราะห์ของกลุ่มเป้าหมายที่เรียนด้วยการจัดกระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 92.85 สูงกว่าเกณฑ์ที่กําหนดไว้ คือร้อยละ 70.00 และคะแนนเฉลี่ยการคิดวิเคราะห์ทุกด้านสูงกว่าเกณฑ์ที่กําหนด ซึ่งสามารถเรียงลําดับจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ การจัดหมวดหมู่ (ร้อยละ100) รองลงมาได้แก่ การคาดคะเน (ร้อยละ 96.71)การหาความสัมพันธ์(ร้อยละ 91.42) การเปรียบเทียบ (ร้อยละ 89.28) และการสํารวจ(ร้อยละ 87.86) ตามลําดับ3. ผลการประเมินการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้การจัดกระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม ของกลุ่มเป้าหมายพบว่าคะแนนผลการประเมินการเรียนรู้วิทยาศาสตร์คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ 93.14 สูงกว่าเกณฑ์ที่กําหนดไว้คือร้อยละ 70.00)

Publisher

Faculty of Education, Chulalongkorn University

First Page

269

Last Page

289

Included in

Education Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.