Abstract
The objectives of this research were to examine conceptual framework, current and desirable states, strengths, weaknesses, opportunities, and threats, and to develop primary school management strategies according to the concept of student competency development in creative problem solving. Mixed methodology was applied by means of documentary study, analysis and synthesis of conceptual framework, collecting data from the sample, making draft strategies, and organizing a focus group discussion. A sample of 397 primary schools under the Office or Basic Education Commission was drawn.Research instruments included a conceptual framework evaluation form, a questionnaire on current and desirable states, a questionnaire on opinion about school management, and an evaluation form on propriety and feasibility of the strategies. Research results revealed the followings: (1) the developed conceptualframework of primary school management strategies comprised of 3 major conceptual frameworks, namely, academic management in primary school, creative problem solving competency, and student competency development approach in creative problemsolving; (2) the desirable state of primary school management according to the concept of student competency development in creative problem solving based on the analysis of internal environment indicated the highest mean for instruction management andtechnological situation; (3) the strength of primary school management involvedinstruction management, while the weaknesses were curriculum development, measurement and evaluation, and development of learning media and sources. External factor as opportunity was economic situation; while threats included government policy, social situation and technological situation; and (4) primary school management strategies contained 4 main strategies and 11 sub-strategies.( การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากรอบแนวคิด สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส ภาวะคุกคาม และพัฒนาเป็นกลยุทธ์การบริหารโรงเรียนประถมศึกษาตามแนวคิดการเสริมสร้างความสามารถของนักเรียนในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เป็นการวิจัยเชิงผสมผสานใช้การศึกษาเอกสาร วิเคราะห์ และสังเคราะห์กรอบแนวคิด จากนั้นเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ยกร่างกลยุทธ์ และจัดประชุมสนทนากลุ่ม กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จํานวน 397 โรง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมินกรอบแนวคิดแบบสอบถาม สภาพปัจจุบันและสภาพพึงประสงค์ และแบบประเมินความเหมาะสมและเป็นไปได้ของกลยุทธ์ ผลการวิจัยพบว่า (1) กรอบแนวคิดกลยุทธ์การบริหารโรงเรียนฯ ประกอบด้วยแนวคิดหลัก 3 เรื่อง ได้แก่ การบริหารวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษา ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ วิธีเสริมสร้างความสามารถของนักเรียนในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (2) สภาพที่พึงประสงค์ด้านการจัดการเรียนการสอนและสภาพเทคโนโลยีมีค่าเฉลี่ยสภาพที่พึงประสงค์สูงที่สุดอยู่ในระดับมาก (3) จุดแข็งของการบริหารโรงเรียน คือ การจัดการเรียนการสอน ส่วนจุดอ่อนคือ การพัฒนาหลักสูตร การวัดและประเมินผลการพัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้ ปัจจัยภายนอกที่เป็นโอกาส ได้แก่ สภาพเศรษฐกิจ ส่วนภาวะคุกคาม ได้แก่ นโยบายของรัฐบาล สภาพสังคม และสภาพเทคโนโลยี (4) กลยุทธ์การบริหารโรงเรียนฯ มี 4 กลยุทธ์หลัก 11 กลยุทธ์รอง)
Publisher
Faculty of Education, Chulalongkorn University
First Page
238
Last Page
256
Recommended Citation
Gomonkitisak, Nipitporn
(2019)
"Elementary School Management Strategies According to the Concept of Enhancing Student’s Creative Problem Solving Ability(กลยุทธ์การบริหารโรงเรียนประถมศึกษาตามแนวคิดการเสริมสร้างความสามารถของนักเรียนในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์),"
Journal of Education Studies: Vol. 47:
Iss.
3, Article 13.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/educujournal/vol47/iss3/13