Abstract
The purposes of research and development were: 1) to develop an instructional process in free play activities based on the tools of the mind and brain based learning approaches to enhance executive functions of kindergarteners; and 2) to study the effectiveness of the developed instructional process. The research procedure was divided into 3 phases: 1) developing the instructional process, 2) pilot studying thedeveloped instructional process, and 3) studying the effects of the developedinstructional process. The samples were 35 students from five to six year-old. 18 students were divided into the experimental group and 17 students for the control group at Bannamphimittraphap 214 School by using multi-stage random sampling. Researchduration took 16 months. Instruments for data collection were Hearts and Flowers, an executive functions assessment, and an executive functions behavior observation. Arithmetic mean, Standard deviation, and t-test were applied to analyze results of the study. The research findings were as follows: 1) the developed instructional process were four steps: boost up brain, stop and think before playing, play together, and share success, and 2) the testing result revealed that the executive functions? average scores between experimental group and control group after controllingfor pretest was statistically significant differences at .05, and the effect size was large(การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนากระบวนการเรียนการสอนกิจกรรมเสรีตามแนวคิดเครื่องมือทางปัญญาและการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างเอ็กเซ็กคิวทีฟฟังก์ชันส์ของเด็กอนุบาล และ 2) ศึกษาผลของการใช้กระบวนการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้น การวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ 1) การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนฯ 2) การนําร่องกระบวนการเรียนการสอนฯ และ 3) การศึกษาผลการใช้กระบวนการเรียนการสอนฯ กลุ่มตัวอย่าง คือ เด็กอนุบาลชั้นปีที่ 2 โรงเรียนบ้านนํ้าพี้มิตรภาพที่ 214 จํานวน 35 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 18 คน และกลุ่มควบคุม 17 คน โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน ระยะเวลาในการดําเนินการวิจัย 16 เดือน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินหัวใจและดอกไม้ แบบประเมินเอ็กเซ็กคิวทีฟฟังก์ชันส์ (Executive functions) และแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมที่สะท้อนเอ็กเซ็กคิวทีฟฟังก์ชันส์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) กระบวนการเรียนการสอนฯ มี 4 ขั้น ได้แก่ ขั้นกระตุ้นสมอง ขั้นหยุดคิดก่อนเล่น ขั้นเล่นร่วมกัน และขั้นสะท้อนความสําเร็จ 2) ผลของการใช้กระบวนการเรียนการสอนฯ พบว่า คะแนนเฉลี่ยเอ็กเซ็กคิวทีฟฟังก์ชันส์ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยควบคุม)
Publisher
Faculty of Education, Chulalongkorn University
First Page
217
Last Page
237
Recommended Citation
Ooppakarn, Dusadee and Kulapichitr, Udomluck
(2019)
"A Development of Instructional Process in Free Play Activities Based on Tools of the Mind and Brain Based Learning Approaches to Enhance Executive Functions of Kindergarteners(การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนกิจกรรมเสรีตามแนวคิดเครื่องมือทางปัญญาและการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างเอ็กเซ็กคิวทีฟฟังก์ชันส์ของเด็กอนุบาล),"
Journal of Education Studies: Vol. 47:
Iss.
3, Article 12.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/educujournal/vol47/iss3/12