•  
  •  
 

Article Title

Proposed Model of a Ceramics Instruction for Undergraduate Level Adapt to Context of Ceramics Studio(การนำเสนอรูปแบบการสอนวิชาเครื่องเคลือบดินเผาในระดับปริญญาตรีที่สนองต่อบริบทและลักษณะของห้องปฏิบัติการ)

Abstract

The purposes of this study were, firstly, to survey the status of teaching and usingthe ceramic studio in three undergraduate curriculums including an 1) art teacher program,2) an art program, and 3) an industrial design program, and secondly, to develop a model for ceramics instruction in a ceramics classroom studio, which is based on studio limitations. The methodology used in this study included methods of qualitative research and quantitativeresearch which collected data through: 1) a combined questionnaire which was utilized by gathering data from teachers and students in an undergraduate ceramics classroom in Thailand,2) expert interviews which included three ceramics teachers from each program and alsoceramics experts, and 3) using a ceramics classroom for studio observation. The obtained datawere analyzed quantitatively through use of means, standard deviation, and percentages.Teaching interviews and observation data were analyzed by use of typology and taxonomy,constant compassion and analytic induction.It was found that the proposed model of ceramics instruction for undergraduateswas adapted to the context of the ceramics studio: 1) The art teacher program consistedof lectures on an overview of the process and the value of ceramics with demonstrationtechniques and measurements consisted of evaluation of understanding in the ceramicsprocess and developing students? teaching skills. 2) The art program consisted of the processto develop students? aesthetic skills and students? individual styles. Measurements consisted of evaluation of developmental skills and creativity. 3) The industrial design program consisted of the design principles of industrial contexts concerned with aesthetics, materials, and functions.Measurements consisted of evaluation of the problem solving of the industrial process and marketing.(การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการสอนและการใช้ห้องปฏิบัติการเครื่องเคลือบดินเผาในหลักสูตรปริญญาตรี 3 หลักสูตร คือ 1) หลักสูตรผลิตครูศิลปะ 2) หลักสูตรผลิตศิลปิน 3) หลักสูตรผลิตนักออกแบบอุตสาหกรรม และนำเสนอรูปแบบการสอนที่สนองต่อบริบทและลักษณะของห้องปฏิบัติการดำเนินการวิจัยแบบผสมผสาน คือ การวิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ เก็บรวบรวมข้อมูลโดย1) แบบสอบถามอาจารย์ผู้สอน และนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 ? 4 2) แบบสัมภาษณ์อาจารย์ผู้สอน และผู้เชี่ยวชาญเครื่องเคลือบดินเผา 3) แบบสังเกตการใช้ห้องปฏิบัติการ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยจำแนก จัดหมวดหมู่ และเปรียบเทียบข้อมูลเพื่อหาบทสรุปร่วมกัน ข้อมูลเชิงปริมาณ วิเคราะห์ด้วยสถิติบรรยาย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และร้อยละผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการสอนเครื่องเคลือบดินเผา 3 หลักสูตร ได้แก่ 1) หลักสูตรผลิตครูศิลปะ เรียนรู้กระบวนการผลิตเครื่องเคลือบดินเผาที่ครอบคลุม เน้นการปลูกฝังคุณค่า การเป็นครูต้นแบบ และพัฒนาทักษะการสอนของผู้เรียน วัดและประเมินผลจากความเข้าใจในกระบวนการผลิตงานและการออกแบบแผนการสอน 2) หลักสูตรผลิตศิลปิน เรียนรู้กระบวนผลิตชิ้นงาน เน้นพัฒนาความคิดสร้างสรรค์เฉพาะตัวตามหลักการทางสุนทรียภาพ วัดและประเมินผลจากพัฒนาการด้านทักษะและความคิดสร้างสรรค์3) หลักสูตรผลิตนักออกแบบอุตสาหกรรม เรียนรู้หลักการออกแบบเชิงอุตสาหกรรมที่คำนึงถึงความงามวัสดุ และหน้าที่ใช้สอย เน้นแก้ปัญหาการออกแบบตามความต้องการของตลาด วัดและประเมินผลจากกระบวนการคิดแก้ปัญหาการออกแบบ)