Journal of Social Sciences
Publication Date
2020-01-01
Abstract
Scholarly works on Islamophobia in Thailand always focus on the state's marginalization of Islam in Thai historiography and ultimately makes Muslims become strangers. I argue that the negative labeling of Islam has not only been adopted by the Thai state to support its militarization in the three southern provinces, but is also reproduced by conservative Buddhists to seek supports from the governmentand Buddhist followersthemselves.Therefore, IslamophobiainThailand cannot be understood without scrutinizing Buddhist groups who reproduce hatred and anti-Islam campaigns. This phenomenon occurs under the condition that the Thai state fails to promote secularism. While the government chooses to assimilate and satisfy Muslims with many projects in order toavoid giving intotheir demands foranautonomousor independent state, Buddhistscriticize the government for being biased in serving Islam. Interestingly, justice in the Thai Buddhists' perspective is not secularism, but to prioritize Buddhism in the state's identity. This paper also provides the concept of peace in the eyes of institutes of peace studies in Thailand, who work to promote multiculturalism without intensively discussing equalityand thesecular state.(งานวิชาการด้านการเกลียดกลัวอิสลามในประเทศไทยมักเพ่งข้อสนใจไปที่การเขียนประวัติศาสตร์ที่ไม่ให้ พื้นที่กับอิสลามซึ่งส่งผลให้มุสลิมกลายเป็นคนแปลกหน้า/แขกของสังคม บทความนี้เสนอว่าภาพลบเกี่ยวกับอิสลาม ไม่ได้ถูกสร้างโดยรัฐเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนการทหารในสามจังหวัดชายแดนใต้เท่านั้น แต่ยังถูกผลิตซ้ำ โดยกลุ่มชาวพุทธอนุรักษ์นิยมเพื่อให้ตนได้รับการสนับสนุนจากรัฐและกลุ่มชาวพุทธด้วยกันเอง ด้วยเหตุนี้กระแส เกลียดกลัวอิสลามในไทยจึงไม่สามารถเข้าใจได้โดยปราศจากการศึกษากลุ่มชาวพุทธผู้ซึ่งผลิตซ้ำความเกลียดกลัว และนโยบายในการต่อต้านอิสลาม ปรากฏการณ์นี้เกิดขึ้นภายใต้ไทยที่ปฏิเสธรัฐโลกวิสัย ในขณะที่รัฐเลือก ที่จะหลอมรวมและเอาใจมุสลิมเพื่อจะหลีกเลี่ยงเขตปกครองอิสระดังที่ถูกร้องขอ ชาวพุทธได้วิจารณ์ถึงความ ไม่เป็นธรรมของการสนับสนุนจากรัฐและเรียกร้องให้ตนต้องได้เช่นนั้นบ้าง ซึ่งความเป็นธรรมในนิยามของกลุ่ม ชาวพุทธไม่ใช่การแยกศาสนาออกจากรัฐ หากแต่เป็นการที่รัฐต้องสนับสนุนศาสนาพุทธมากที่สุด กระบวนการ สร้างภาพอิสลามว่าเป็นผีร้ายจึงเกิดขึ้นเรื่อย ๆ บทความนี้ยังได้นำเสนอกรอบแนวคิดเรื่องสันติภาพของสถาบัน สันติศึกษาต่าง ๆ ในประเทศไทย ซึ่งมักส่งเสริมพหุวัฒนธรรมโดยละเลยการถกเถียงถึงความไม่เท่าเทียมและ รัฐโลกวิสัยอย่างจริงจัง)
First Page
125
Last Page
147
Recommended Citation
Buaban, Jesada
(2020)
"Islamophobia as Represented by Thai Buddhist Organizations(โรคเกลียดกลัวอิสลามที่ถูกนำเสนอโดยองค์กรชาวพุทธไทย),"
Journal of Social Sciences: Vol. 50:
Iss.
2, Article 7.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/cujss/vol50/iss2/7