Journal of Social Sciences
Publication Date
2020-01-01
Abstract
Thecrimeof genocide,or the"crimeofallcrimes", isoftenanalysed throughthelensof law. However, social scientists have argued that legal explanations and descriptions of the crime of genocidearetoolimited inanalysis. Criminology - asasociological discipline dedicated tostudying variouscrimesand toseeking explanations behind therootsof thesecrimes - can providesubstantial guidance which could be employed to deconstruct, analyse and understand the crime of genocide. This article thus synthesizes criminological theories that have been employed to study the crime of genocide, toshow how using thelensofcriminology instead of law could improveourunderstanding about thecrimeof genocide. Whilethereisnouniversallyaccepted criminological theory tounpack thiscrime, thestudies do contribute greatly to our understanding of the causes and patterns of genocide. Findings from these studies show that the crime of genocide often originates from conflicts between "groups", where the perpetrators believe that the victims caused problems. This, coupled with several factors, that motivate perpetratorstoactcollectivelyasa group, with macro-level motivationsfeeding intoand spurring actionat the micro-level, influencing a perpetrator's decisiontocommit thecrime.(การพิจารณาอาชญากรรมการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ซึ่งถูกกล่าวขานว่าเป็น "ที่หนึ่งในบรรดาอาชญากรรม ทั้งหลาย" นั้นมักอยู่บนพื้นฐานของหลักกฎหมาย โดยอาชญากรรมการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในเชิงนิติศาสตร์นั้นถูกวิพากษ์ โดยนักสังคมศาสตร์ว่ามีลักษณะที่จำกัดเกินไป จึงนำไปสู่แนวคิดการบูรณาการความรู้ทางด้านนิติศาสตร์เข้ากับ ทฤษฎีทางอาชญาวิทยาเพื่อที่จะแก้ปัญหาเหล่านี้เนื่องจากศาสตร์ทางด้านอาชญาวิทยาได้ศึกษาสาเหตุของ อาชญากรรมไว้หลากหลายรูปแบบและเป็นประโยชน์อย่างมากในการอธิบายถึงสาเหตุของการเกิดอาชญากรรม ประเภทต่าง ๆ บทความนี้จึงจะให้ความสำคัญแก่การสังเคราะห์บทศึกษาเกี่ยวกับสาเหตุของการประกอบ อาชญากรรมการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยเฉพาะในมุมมองอาชญาวิทยาเป็นสำคัญว่ามีนัยอย่างไรต่อการทำความเข้าใจ เรื่องอาชญากรรมการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ในทางอาชญาวิทยายังไม่มีทฤษฎีใดที่ได้รับการยอมรับโดยดุษณีแต่จากแนวคิดและทฤษฎีที่ถูกศึกษา ในเบื้องต้นนั้นก็เป็นคุณูปการต่อเสริมสร้างความเข้าใจต่อสาเหตุและแบบแผนของอาชญากรรมการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ เป็นอย่างมาก โดยชี้ให้เห็นถึงลักษณะของอาชญากรรมที่เกิดจากความขัดแย้งระหว่าง "กลุ่ม" โดยฝ่ายผู้ประกอบ อาชญากรรมมักเชื่อว่าเหยื่อเป็นสาเหตุให้เกิดปัญหาทั้งหลาย ผนวกกับปัจจัยที่ก่อให้เกิดเป็นเจตจำนงร่วมกัน ในการกระทำผิดของกลุ่ม ทั้งปัจจัยในเชิงมหภาคที่ก่อให้เกิดผลในระดับจุลภาค จึงส่งผลให้ผู้กระทำผิดตัดสินใจ ประกอบอาชญากรรม)
First Page
101
Last Page
124
Recommended Citation
Srisod, Sanhawan
(2020)
"A Criminological Synthesis of the Crime of Genocide(การสังเคราะห์ทางอาชญาวิทยาของอาชญากรรมการฆ่า ล้างเผ่าพันธุ์),"
Journal of Social Sciences: Vol. 50:
Iss.
2, Article 6.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/cujss/vol50/iss2/6